Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorหงษ์ทอง, นภาพร-
dc.contributor.authorสุทธะ, ชูชาติ-
dc.contributor.authorพระครูศรีวรพินิจ-
dc.date.accessioned2022-03-19T07:10:46Z-
dc.date.available2022-03-19T07:10:46Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/480-
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง “๙ พระธาตุ ๙ อาเภอ: จากตานานสู่การเชื่อมโยงเครือข่ายการท่องเที่ยว ทางพุทธศาสนาในจังหวัดพะเยา” เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยใช้ แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการประชุมกลุ่มย่อย เพื่อให้ได้ผลตามวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑) เพื่อศึกษาข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ของ ๙ พระธาตุ ๙ อาเภอ ในจังหวัดพะเยา ๒) เพื่อประเมินศักยภาพทางการท่องเที่ยวของ ๙ พระธาตุ ๙ อาเภอ ในจังหวัดพะเยา และ ๓) เพื่อ นาเสนอยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงเครือข่าย ๙ พระธาตุ ๙ อาเภอ ในจังหวัดพะเยา ได้แก่ (๑) พระธาตุ จอมทอง อาเภอเมืองพะเยา (๒) พระธาตุดอยคา อาเภอเชียงคา (๓) พระธาตุจอมไคร้ อาเภอดอก คาใต้ (๔) พระธาตุจอมก๊อ อาเภอแม่ใจ (๕) พระธาตุดอยหยวก อาเภอปง (๖) พระธาตุขิงแกง อาเภอ จุน (๗) พระธาตุภูปอ อาเภอเชียงม่วน (๘) พระธาตุลานเตี้ย อาเภอภูกามยาว และ (๙) พระธาตุภู ซาง อาเภอภูซาง ผลการศึกษาพบว่า ๑. วัดพระธาตุทั้ง ๙ แห่ง เป็นวัดที่มีองค์พระธาตุเก่าแก่และศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งผู้คนในท้องถิ่น เคารพสักการะด้วยความศรัทธาว่า เป็นสถานที่ประดิษฐานพระวรกายส่วน ใดส่วนหนึ่งของ พระพุทธเจ้าหรือพระสาวก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระเกศาธาตุ ตามตานานพระธาตุแต่ละแห่งมัก กล่าวถึงการเสด็จมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าและพระสาวก ณ สถานที่แห่งนั้น อันเป็น ความเชื่อที่สืบเนื่องมาจากตานานพระเจ้าเลียบโลก ๒. ศักยภาพทางการท่องเที่ยวของ ๙ พระธาตุ ๙ อาเภอ ในจังหวัดพะเยา โดยภาพรวม พบว่า มีศักยภาพในระดับปานกลาง คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๓.๓๖ โดยจาแนกตามด้านต่างๆ คือ (๑) ศักยภาพด้านคุณค่า/ปัจจัยหลัก/สิ่งดึงดูดทางการท่องเที่ยว มีศักยภาพในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๓.๗๗ (๒) ด้านปัจจัยสนับสนุน/สิ่งอานวยความสะดวก มีศักยภาพในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ ๓.๒๔ (๓) ด้านการเข้าถึง มีศักยภาพในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๓.๐๙ ๓. ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงเครือข่าย ๙ พระธาตุ ๙ อาเภอ ในจังหวัดพะเยา ได้แก่ (๑) การพัฒนาฐานความรู้/องค์ความรู้ และการสร้าง/พัฒนาอัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยวเชิงพุทธร่วมกัน (๒) การจัดทาเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาที่เชื่อมโยงกัน (๓) การส่งเสริม องค์ความรู้ทางด้านพุทธศิลปกรรม และ (๔) การสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในการบริหาร จัดการร่วมกัน โดยใช้กลยุทธ์ คือ เปิดตานาน -> ตามรอยพระธาตุ สานสร้างอัตลักษณ์ -> รู้จักตนเอง , ก้าวไปบนเส้นทางบุญ-> ค้าจุนพระพุทธศาสนา, เกื้อหนุนพุทธศิลป์ -> เยือนถิ่นโบราณสถาน, บริหารเครือข่าย -> ขยายความร่วมมือen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subject๙ พระธาตุen_US
dc.subject๙ อำเภอen_US
dc.subjectตำนานen_US
dc.subjectศักยภาพทางการท่องเที่ยวen_US
dc.subjectเครือข่ายen_US
dc.title๙ พระธาตุ ๙ อาเภอ: จากตานานสู่การเชื่อมโยงเครือข่ายการท่องเที่ยวทางพุทธศาสนาในจังหวัดพะเยาen_US
dc.title.alternative9 Pagodas (Pratads) in 9 Districts: From Myth to Buddhist Tourism Network Connections in Phayao.en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-068นภาพร หงษ์ทอง.pdf6.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.