Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/472
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กิตฺติโสภโณ (แซ่หลี), พระมหากฤษฎา | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-19T06:57:26Z | - |
dc.date.available | 2022-03-19T06:57:26Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/472 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ ๑) เพื่อศึกษากระบวนการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ ๒) เพื่อนาเสนอแนวทางการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การวิจัยครั้งนี้ใช้เป็นการศึกษาโดยการใช้การวิจัยแบบคุณภาพ (Qualitative Research ) ด้วยการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Informants) จานวน ๑๗ รูป/คน และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant Observation) ณ ชุมชนวัดท่าการ้อง ตาบลบ้านป้อม อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการวิจัยพบว่า ๑) การสร้างความปรองดองสมานฉันท์นั้น เริ่มจากการสร้างความปรองดองในจิตใจของแต่ละคนก่อน เพื่อสร้างสันติภาพสู่สังคมภายนอก โดยใช้หลักการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา ส่วนกระบวนการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านศีล ๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใช้หลักการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การวางแผน (Planning) การจัดหน่วยงาน (Organizing) การจัดสายงานและการจัดตัวบุคคล (Staffing) การอานวยการ (Directing) การประสานงาน (Coordinating) การรายงาน (Reporting) และ งบประมาณ (Budgeting) โดยผู้นาชุมชนจะต้องยึดหลักการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ๖ ประการคือ หลักความถูกต้อง หลักความเหมาะสม หลักความบริสุทธิ์ หลักความยุติธรรม หลักพรหมวิหารธรรม และหลักความเสียสละ จะทาให้เกิดบรรยากาศแห่งความสมัครสมานสามัคคีของคนในชุมชนอย่างแท้จริง ๒. แนวทางการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประกอบด้วย ๔ กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่หนึ่ง จัดตั้งศูนย์อานวยการกลาง และศูนย์อานวยความสะดวกระดับชุมชนที่มีประสิทธิภาพ เช่น มีวัสดุอุปกรณ์ในการบันทึกและจัดเก็บข้อมูล เป็นศูนย์ประสานงานและขับเคลื่อนโครงการ มีการดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ที่สอง จัดอบรมประชาชน สร้างความรู้ความเข้าใจในการรักษาศีล ๕ รวมถึงสถานศึกษา หน่วยงานราชการ โรงงาน และชุมชนอย่างต่อเนื่อง จัดทาเอกสาร แผ่นพับและสื่อการสอนเพื่อเผยแพร่โครงการให้ทั่วถึง และขับเคลื่อนหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ระดับ ๒ อย่างต่อเนื่อง ตามนโยบายของคณะสงฆ์ กลยุทธ์ที่สาม พัฒนาศักยภาพของบุคลากรทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ และสร้างจิตอาสาในการปฏิบัติงานให้เพิ่มมากขึ้น เน้นการประสานงานระหว่างบ้าน วัด และชุมชน (บวร) และ กลยุทธ์ ที่สี่ สร้างเครื่องมือในการกากับติดตามและประเมินผลการดาเนินโครงการที่มีคุณภาพ ขอความร่วมมือจากสถาบันการศึกษาของจังหวัด เช่น มหาวิทยาลัย วิทยาลัย เป็นต้น ในการช่วยสร้างเครื่องมือในการกากับติดตามและประเมินผลที่มีคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ มีการรายงานผลการดาเนินงานทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพอย่างต่อเนื่อง | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ | en_US |
dc.subject | การขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ | en_US |
dc.subject | จังหวัดพระนครศรีอยุธยา | en_US |
dc.title | การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ด้วยการขับเคลื่อน โครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา | en_US |
dc.title.alternative | Building the Reconciliation by be driven with Five Precepts Village Project in Ayutthaya Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2558-165 พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ,ดร.pdf | 5.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.