Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/471
Title: กระบวนการจัดการชุมชนโดยบูรณาการหลักคาสอนทางศาสนาและวิถีแห่งวัฒนธรรมของชุมชนใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้
Other Titles: Community Management Process by the Integration of Religious Teaching and Cultural Way of Community in the Three Southern Border Provinces
Authors: มณีรัตนวงศ์, นิเวศน์,
Keywords: การจัดการชุมชน,
คาสอนทางศาสนา,
จังหวัดชายแดนภาคใต้
Issue Date: 2560
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาบริบททางสังคมของชุมชน ๒) เพื่อศึกษา กระบวนการจัดการทางสังคมของชุมชนโดยการบูรณาการหลักคาสอนทางศาสนาและวิถีแห่ง วัฒนธรรมของชุมชน และ ๓) เพื่อวิเคราะห์ความสาคัญของกระบวนการจัดการทางสังคมของชุมชน โดยการบูรณาการหลักคาสอนทางศาสนาและวิถีแห่งวัฒนธรรมของชุมชน ผลการวิจัยพบว่า บริบททางสังคมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาของพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้มีประวัติความเป็นที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีประวัติศาสตร์เกี่ยวเนื่องกัน โดย เริ่มต้นจากอาณาจักลังกาสุกะ ที่ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ประชาชนใน พื้นที่ประกอบด้วยประชาชนหลากหลายเชื้อชาติ เช่น กลุ่มชาวจีน กลุ่มชาวซิกข์ กลุ่มชาวซาไก กลุ่ม ชาวมุสลิม กลุ่มชาวไทยพุทธ เป็นต้น วัฒนธรรมประเพณีในพื้นที่จะอิงมาจากศาสนา ทั้งศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลาม กระบวนการจัดการทางสังคมของชุมชนโดยการบูรณาการหลักคาสอนทางศาสนาและวิถีแห่ง วัฒนธรรมของชุมชนใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ การใช้หลักคาสอนทางศาสนาชาวพุทธ จะนาหลัก บุญกิริยาวัตถุ ๓ คือ ทานมัย ศีลมัย ภาวนามัย การใช้วัฒนธรรมของครอบครัว การใช้เรื่องความเชื่อ บรรพบุรุษ และวิญญาณสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนชาวมุสลิม ใช้หลักศรัทธา คือ หลักความเชื่อในพระเจ้า องค์เดียว การละหมาด การบริจาคซาก๊าต เป็นแนวทางในการใช้ชีวิต การใช้วัฒนธรรม ประชาชนชาว พุทธ นาหลักการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในชุมชน มาบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ประเพณีวันสงกรานต์ นามาใช้ในการอยู่ร่วมกันในครอบครัว ประชาชนชาวมุสลิม ใช้ประเพณีกวนอาซูรอ ในการสร้างความ รักความสามัคคีในชุมชน ใช้การละเล่นสิละสร้างความสัมพันธ์กับประชาชนในชุมชน ความสาคัญของกระบวนการจัดการทางสังคมของชุมชนโดยการบูรณาการหลักคาสอนทาง ศาสนาและวิถีแห่งวัฒนธรรมของชุมชนใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งประชาชนในพุทธศาสนา และ ข ประชาชนในศาสนาอิสลาม ให้ความสาคัญกับการใช้หลักศาสนาและวัฒนธรรมของชุมชนในการ จัดการชุมชน ซึ่งมีความสาคัญต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/471
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-355นายนิเวศน์ มณีรัตนวงศ์.pdf3.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.