Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเหมาะประสิทธิ์, ณภัสสรส์-
dc.date.accessioned2022-03-18T14:06:58Z-
dc.date.available2022-03-18T14:06:58Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/449-
dc.description.abstractผลการวิจัยพบว่าตัวชี้วัด พฤติกรรมเชิงพุทธที่มีต่อความเข้มแข็งของครอบครัว ใน สังคมไทย ประกอบด้วย๘ องค์ประกอบ และ๖๐ ตัวบ่งชี้ดังนี้๑ ) องค์ประกอบด้านหลักธรรมสาหรับ ครอบครัว มี ๑๑ ตัวชี้วัด๒) องค์ประกอบด้าน สัมพันธภาพภายในครอบครัวมี ๘ ตัวชี้วัด ๓) องค์ประกอบ ด้านการอบรมเลี้ยงดู มี ๗ ตัวชี้วัด ๔) องค์ประกอบด้าน การเรียนรู้เพื่อเท่าทันการ เปลี่ยนแปลงมี ๖ ตัวชี้วัด ๕) องค์ประกอบ ด้านการพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจ มี ๖ ตัวชี้วัด ๖) องค์ประกอบด้านการพึ่งพาตนเองทางสุขภาพ มี ๘ ตัวชี้วัด ๗) องค์ประกอบด้านการจัดการกับปัญหา ภาวะเสี่ยงและการปรับตัวในภาวะยากลาบาก มี ๘ ตัวชี้วัด และ ๘) องค์ประกอบด้านทุนทางสังคม มี ๖ ตัวชี้วัด องค์ประกอบทั้ง 8 องค์ประกอบและตัวชี้วัดพฤติกรรมที่เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ ครอบครัวสอดคล้องกับหลักธรรมเบญจศีล (หลักศีล 5 ) เบญจธรรม (คุณธรรม 5 ประการ) หลัก พรหมวิหาร ๔ หลัก ฆราวาสธรรม ๔ และสมชีวิธรรม๔ แต่ละหลักธรรมมีหลักคาสอนที่สมาชิก ครอบครัวสามารถนาเอาไปปฏิบัติตามเพื่อที่จะช่วยให้มีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น อยู่ร่วมกับคน ในสังคม ได้อย่างไม่มีอุปสรรคและจะช่วยเสริมสร้างครอบครัวให้มั่นคงและแข็งแรงตลอดไปen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectองค์ประกอบen_US
dc.subjectเกณฑ์ชี้วัดen_US
dc.subjectพฤติกรรมเชิงพุทธen_US
dc.subjectครอบครัวในสังคมไทยen_US
dc.titleองค์ประกอบและเกณฑ์ชี้วัดพฤติกรรมเชิงพุทธของครอบครัวในสังคมไทยen_US
dc.title.alternativeA Study of Composition and Criteria of Buddhist Behavioral of Family in Thai Societyen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.