Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/447
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบริบูรณ์, บูรกรณ์-
dc.contributor.authorแมนสถิตย์, นายวิบูลย์-
dc.date.accessioned2022-03-18T14:01:32Z-
dc.date.available2022-03-18T14:01:32Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/447-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) เพื่อศึกษารูปแบบการนำตนของพระสงฆ์เข้าไปผูกพันกับชุมชน ๒) เพื่อวิเคราะห์ลักษณะการพัวพันของพระสงฆ์กับชุมชน และ๓) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบของพระสงฆ์เข้าไปพัวพันกับสังคมในการแก้ไขปัญหาสังคมนั้น กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาประกอบด้วยพรสงฆ์ที่ทำงานสังคมสงเคราะห์ จำนวน ๓ รูป และพระสงฆ์ที่ทำงานพัฒนาด้านจิตใจจำนวน ๗ รูปเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การสัมภาษณ์อย่างเป็นทางการและพูดคุยไม่เป็นทางการผลของการศึกษานำมาวิเคราะห์ภายใต้กรอบแนวคิดพระพุทธศาสนาเพื่อสังคม (socially engagedBuddhism) ต่อมา ผลการศึกษาพบว่า “รูปแบบ” การทำงานของพระสงฆ์ในการนำตนเข้าไปผูกพันกับชุมชนพบว่า การนำตนเข้าไปผูกพันกับชุมชนมาจากชุมดของความสัมพันธ์ระหว่างพระสงฆ์กับชุมชนชุดหนึ่ง ได้แก่ การทำงานมาจากแรงจูงใจที่เกิดจากภายในเพราะสัมผัสกับบริบททางสังคมที่มีตนเองอาศัยอยู่ประสบการปัญหาบางประการและตระหนักว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่จะต้องเข้าไปคลี่คลายปัญหามากที่สุด ลักษณะงานมักจะเป็นงานการสังเคราะห์เป็นหลัก รองลงมาเพราะเงื่อนไขบริบทอันเป็นข้อผูกมัดทางวัฒนธรรมของพระสงฆ์ที่ควรทำหน้าที่จะพึงกระทำ ลักษณะงานจะมีขอบเขตงานด้านจิตใจเป็นหลัก และน้อยที่สุดคือคือเงื่อนไขสภาพแวดล้อมบังคับ อย่างไรก็ดี แรงจูงใจที่แตกต่างกันนี้จะมีความคล้ายคลึงกันเมื่อพระสงฆ์ได้นำตนเองไปผูกพันกับชุมชนจะหลอมตนเองเข้าไปชุมชนแล้วจะส่งผลต่อแรงบันดาลใจและอุทิศตนเองทำงานตลอดชีวิตต่อมาหลักการแนวคิดพระพุทธศาสนาเพื่อสังคม คือ ๑) สรรพสิ่งมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกันทั้งสิ่งที่เป็นนามธรรมและสิ่งที่รูปธรรม พระสงฆ์มีความเชื่อมโยงกับหลักธรรมคือเป็นผู้ปฏิบัติธรรมและในเชิงปรากฏการณ์ทางสังคมพระสงฆ์จึงมีความเชื่อมโยงระหว่างหน่วยพระสงฆ์และหน่วยสังคมอย่างแยกออกกันไม่ได้ ๒) พระสงฆ์กล่อมเกลาตนเองจากการเห็นหลักการเชื่อมโยงนั้น และ๓) นำตนเองเข้าไปผูกพันกับชุมชนในฐานะตนเองเป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหานั้น ผลของการศึกษาปรากฏการณ์ชุดรูปแบบความสัมพันธ์ชุดหนึ่งของพระสงฆ์ในการทำงานตามกรอบแนวคิดพระพุทธศาสนาเพื่อสังคม พบว่า พระสงฆ์กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่กล่อมเกลาตนเองในระดับเข้มเข้มแล้วเห็นว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและนำตนเองเข้าไปผูกพันกับชุมชน ผลจากการผูกพันและทำงานเพื่อสังคมเห็น ทำให้ตนเองเห็นความเชื่อมโยงของสรรพสิ่งและนำมาสู่ การกล่อมเกลาตนเองต่อไปองค์ประกอบของแนวคิดพระพุทธศาสนาเพื่อสังคมตามปรากฏการณ์ของพระสงฆ์ที่ทำงานเพื่อสังคมจึงอธิบายได้ว่า องค์ประกอบของแนวคิดทั้งสามจะมีความเชื่อมโยงเป็นเหตุผลในเวลาเดียวกัน พระสงฆ์ที่ทำงานเพื่อสังคมจะมีระดับความเข้มในคุณสมบัติแตกต่างกันอย่างไรก็ดีแนวคิดนี้เป็นชี้วัดที่จะอธิบายการทำงานของพระสงฆ์เพื่อสังคมได้อย่างดีen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectรูปแบบen_US
dc.subjectผูกพันen_US
dc.subjectลักษณะการผูกพันen_US
dc.subjectพระสงฆ์en_US
dc.subjectปัญหาสังคมen_US
dc.titleรูปแบบการนำตนเองเข้าไปผูกพันกับชุมชน ของพระสงฆ์ในการแก้ไขปัญหาสังคมen_US
dc.title.alternativeModel of Community Engaged Monks in Solving Their Social Problemsen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2554_ดร.บูรกรณ์.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.