Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/434
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อุดมพันธ์, พระครูกิตติคุโณภาส | - |
dc.contributor.author | พันนา, นายมนูญ | - |
dc.contributor.author | ขนฺติธโร, พระนพรัตน์ | - |
dc.contributor.author | อุดมโชคนามอ่อน, นายไชยสิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | นามเกษ, นางสาวศรีวรรณ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-18T13:23:48Z | - |
dc.date.available | 2022-03-18T13:23:48Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/434 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยกระบวนการปลูกฝังด้านคารวธรรม สามัคคีธรรม และปัญญาธรรมแก่เด็กและเยาวชน ด้วยนิทานพื้นบ้านอีสานจังหวัดอุบลราชธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ด้านคารวธรรม สามัคคีธรรม และปัญญาธรรมแก่เด็กและเยาวชน โดยใช้นิทานพื้นบ้านเพื่อวิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ด้านคารวธรรม สามัคคีธรรม และปัญญาธรรม ที่แทรกอยู่ในนิทานพื้นบ้านทั้ง ๔ เรื่อง และเพื่อจัดพิมพ์หนังสือนิทานพื้นบ้านอ่านประกอบในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม แก่เด็กและเยาวชน ซึ่งพบผลการวิจัย พอสรุปได้ ดังนี้ ๑. ผลสะท้อนความรู้ความเข้าใจของนักเรียน และปราชญ์ชาวบ้านเกี่ยวกับกระบวนการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมแก่เด็กและเยาวชน โดยใช้นิทานพื้นบ้าน โดยภาพรวม พบว่า มากที่สุดเกี่ยวกับการจัดหานิทานพื้นบ้านเข้าสู่ห้องสมุดของชุมชน และเกี่ยวกับการที่นักเรียนได้เคยเข้าร่วมกิจกรรมการอ่าน/การเล่านิทานพื้นบ้านที่จัดขึ้นในชุมชน ๒. ผลสะท้อนความรู้ความเข้าใจของนักเรียนและปราชญ์ชาวบ้านเกี่ยวกับหลักธรรม คติธรรม ที่แทรกอยู่ในนิทานพื้นบ้าน ทั้ง ๔ เรื่อง โดยภาพรวม ซึ่งมีผลสรุปได้ ดังนี้ พญากาเผือก สะท้อนถึงหลักธรรม ด้านคารวธรรม กตัญญูกตเวทิตาธรรม และการตั้งสัจจาอธิษฐาน เพื่อการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ นกกระจาบไร้ความสามัคคี สะท้อนให้เห็นคติธรรมที่ว่าความสามัคคี นำมาซึ่งความสุขความสงบของหมู่คณะ ส่วนความไร้สามัคคี ความอวดเก่งอวดดี ทำให้หมู่คณะพินาศฉิบหาย สุวรรณสามกุมาร สอนให้รู้ว่า คารวะธรรมความนอบน้อมต่อบิดามารดา ความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ และการยึดสัจจะยิ่งกว่าชีวิต ก่อให้เกิดความเจริญและความสุขในชีวิต ปัญหาเสียวสวาสดิ์ แสดงให้เห็นว่า มีการนำเอานิทานพื้นบ้านมาผูกเป็นปริศนาธรรม แทรกไว้ซึ่งหลักปรัชญา คำสอน คติธรรม ที่ควรนำมาใช้อบรมสั่งสอนศีลธรรมแก่เด็กเยาวชน และคนทั่วไป | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กระบวนการปลูกฝังด้านคารวะธรรม | en_US |
dc.subject | สามัคคีธรรมและปัญญาธรรม | en_US |
dc.subject | เด็กและเยาวชน | en_US |
dc.subject | นิทานพื้นบ้านอีสาน | en_US |
dc.subject | จังหวัดอุบลราชธานี | en_US |
dc.title | ศึกษากระบวนการปลูกฝังด้านคารวะธรรม สามัคคีธรรมและปัญญาธรรมแก่เด็กและเยาวชน ด้วยนิทานพื้นบ้านอีสาน จังหวัดอุบลราชธานี | en_US |
dc.title.alternative | A Study of training process that used for building the child-youth Values of respect, harmony,and wisdom based on the Esarn folk tales, Ubonratchathani Province. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2561-095 พระครูกิตติคุโณภาส.pdf | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.