Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/433
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุขประเสริฐ, ชยาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | -, พระครูศรีปัญญาวิกรม | - |
dc.contributor.author | สุวโจ, พระมหาพจน์ | - |
dc.contributor.author | ชึรัมย์, ไว | - |
dc.contributor.author | ฮ้อแสงชัย, สุวรรณี | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-18T13:20:41Z | - |
dc.date.available | 2022-03-18T13:20:41Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/433 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องการพัฒนาจิตสานึกสาธารณะเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถานชุมชนจังหวัด บุรีรัมย์ มีวัตถุประสงค์ ๓ ข้อ คือ ๑) ศึกษาโบราณสถานชุมชน ในจังหวัดบุรีรัมย์ ๒) ศึกษา จิตสานึกสาธารณะชุมชนเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถานชุมชน ๓) เพื่อพัฒนาจิตสานึกสาธารณะ เพื่อการอนุรักษ์โบราณสถานชุมชน ของจังหวัดบุรีรัมย์ โดยมีวิธีการวิจัยแบบผสมผสาน ได้แก่ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการลงพื้นที่ปฏิบัติการทากิจกรรมร่วมกับชุมชน ด้วยการสัมภาษณ์ เก็บ แบบสอบถาม และการสร้างชุดความรู้ ประชาชกรกลุ่มตัวอย่างและผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้นาชุมชน ผู้ดูแลเกี่ยวข้อง ปราชญ์ชาวบ้าน เยาวชน และพระภิกษุสงฆ์ จานวนประมาณ ๔๙ รูป/คน ใน อาเภอคูเมือง และอาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ผลการวิจัยพบว่า ๑) จากการศึกษาเอกสารและลงพื้นที่สารวจโบราณสถานชุมชนในจังหวัดบุรีรัมย์ พบเสมาที่มีอายุเก่าแก่ที่ทรงคุณค่ายิ่งทางโบราณคดี การสร้างนั้นย้อนไปได้ถึงสมัยทวารวดี ลอง ลงมาเป็นการสร้างในสมัยขอมเรืองอานาจคือ ศิลปะขอมแบบไพรกเม็ง นับถือศาสนาพราหมณ์ และใบเสมายุคสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่มีคติความเชื่อแนวความคิด และเหตุผลในการสราง คือใช เปนนิมิต หรือเครื่องหมาย เพื่อกาหนดขอบเขตของพระอุโบสถ มีการสารวจ ๗ พื้นที่ ซึ่งเป็น ชุมชนโบราณของจังหวัดบุรีรัมย์ พบโบราณสถานจานวน ๑๒ แห่ง แต่เลือกศึกษาโบราณสถานที่ อาเภอคูเมืองและอาเภอเมือง พบเสมาโบราณบ้านปะเคียบ วัดทรงศิรินาวาส อาเภอคูเมือง เป็นเสมาโบราณสมัยทวารวดีพบจานวนมากกว่า ๕๐ ชิ้น บางชิ้นมีลวดลายที่ชัดเจนสมบูรณ์ และเริ่มที่จะเลื่อมสภาพลงและบางชิ้นถูกทาลายด้วยน้ามือของมนุษย์เพราะ ความรู้เท่าไม่ถึง การณ์นั้น คือสาเหตุที่ต้องเร่งดาเนินการอนุรักษ์และสร้างจิต สานึกสาธารณะเพื่อการอนุรักษ์ โบราณสถานชุมชน ข ๒) จิตสานึกสาธารณะเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถานชุมชน พบว่า คนในชุมชนมีการ ตระหนักรู้ในความรับผิดชอบต่อส่วนรวม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโบราณสถาน เพื่อการ อนุรักษ์โบราณสถานชุมชนของตนเอง ซึ่งโบราณสถานยังบอกความรุ่งเรืองในอดีตของชุมชน ทุกคนควรช่วยกันดูแลเฝ้าระวังและรักษา และช่วยกันปลูกต้นไม้เพราะต้นไม้ช่วยให้สภาพ อากาศดีขึ้น ๓) เพื่อพัฒนาจิตสานึกสาธารณะเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถานชุมชนจังหวัดบุรีรัมย์ โดยการทากิจกรรมพัฒนาจิตสานึกสาธารณะ เพื่อกระตุ้นสร้างพลังชีวิตและแรงจูงใจเสริมสร้าง ความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับความสาคัญของโบราณสถานชุมชน และการเป็นเจ้าบ้านที่ดี ได้สร้างกลุ่ม อาสาอนุรักษ์โบราณสถานชุมชน แก้ปัญหาและอนุรักษ์โบราณสถานชุมชนของตนเอง ให้ยั่งยืน ต่อไป | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การพัฒนา | en_US |
dc.subject | จิตสานึกสาธารณะ | en_US |
dc.subject | การอนุรักษ์ | en_US |
dc.subject | โบราณสถาน | en_US |
dc.subject | ชุมชน | en_US |
dc.subject | จังหวัดบุรีรัมย์ | en_US |
dc.title | การพัฒนาจิตสานึกสาธารณะเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถานชุมชน จังหวัดบุรีรัมย์ | en_US |
dc.title.alternative | The Development of Public Conscience Mind for the Conservation of ancient community in Buriram Province. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2562-054ชยาภรณ์ สุขประเสริฐ.pdf | 8.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.