Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/419
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สารบรรณ, สุเทพ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-18T07:51:49Z | - |
dc.date.available | 2022-03-18T07:51:49Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/419 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง กระบวนการเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ๓ ข้อ คือ ๑. เพื่อศึกษากระบวนการเสริมสร้างศักยภาพ ของชุมชนต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย ๒.เพื่อพัฒนาเครือข่าย กระบวนการเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย และ ๓. เพื่อเสนอรูปแบบการเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย โดยเครือข่ายพหุภาคี จะได้นาเสนอดังต่อไปนี้ วิธีการดาเนินการวิจัย แบบผสมผสานระหว่าง การวิจัยเชิงปริมาณโดยเก็บข้อมูลจาก เอกสาร รายงาน การวิจัยที่เกี่ยวข้อง และแบบสอบถามประกอบ และการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูล จากเอกสาร รายงาน การวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์ประกอบ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชน ชุมชน นักท่องเที่ยว ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง รวมถึง พระมหาเถระและปราชญ์ ที่อาศัยอยู่รอบๆ วัดพระมหาชินธาตุเจ้า(ดอยตุง) วัดพระแก้ว และ วัดร่องขุ่น จานวน ๑๙๗,๒๓๑ รูป/คน โดยมีวิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง จากการใช้วิธีสุ่มของเครซี่ และ มอร์แกน (Krejicie and Mogan) จานวน ๓๘๔ รูป/คน ผลการวิจัย พบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน ๑๙๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๕ มีอายุระหว่าง ๒๑-๓๐ ปี จานวน ๑๔๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๐ สถานภาพ ส่วนใหญ่โสด จานวน ๑๙๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๓ มีการศึกษาระดับปริญญาตรี จานวน ๑๔๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๕ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว จานวน ๙๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๒ มีรายได้ ๑๐,๐๐๐-๑๕,๐๐๐ บาท จานวน ๑๒๔ คิดเป็นร้อยละ ๓๒.๒ และส่วนใหญ่มีถิ่นที่อยู่ อาศัยในภาคเหนือ จานวน ๒๙๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๖ การศึกษากระบวนการเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย มีความคิดเห็นทั้ง ๓ ด้าน อยู่ในระดับ ปานกลาง( X =๓.๓๓) ถ้าพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า ๑) ด้านการจัดการการท่องเที่ยวของวัด อยู่ในระดับ ปานกลาง ( X =๓.๑๖) ๒) ด้านรูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวของวัด อยู่ในระดับ ปานกลาง ( X =๓.๔๑) และ ๓) ด้านผลกระทบจากการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง ( X =๒.๘๔) ปัญหาการศึกษากระบวนการเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย พบว่า ยังขาดความร่วมมือจากหน่วยงาน องค์กรภาครัฐ และเอกชน ในการเข้าไปช่วยเหลือ สนับสนุน และพัฒนา ร่วมทั้งชุมชนควรสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยว และ แหล่งเรียนรู้เชิงวัฒนธรรมในท้องถิ่น เพื่อให้วัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สมบูรณ์ | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กระบวนการเสริมสร้างศักยภาพ | en_US |
dc.subject | การส่งเสริมการท่องเที่ยว | en_US |
dc.subject | เชิงวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | จังหวัดเชียงราย | en_US |
dc.title | กระบวนการเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนต่อการส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย | en_US |
dc.title.alternative | Community Strengthening and Cultural Tourism Promotion in Chiang Rai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2558-110ดร. สุเทพ สารบรรณ.pdf | 8.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.