Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/417
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เชื้อสมุทร, สุเทพ | - |
dc.contributor.author | อมรทตฺโต, บุญรอด | - |
dc.contributor.author | พระครู, ปริยัติสุวัฒนาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | พระครู, สังฆวิสุทธิคุณ | - |
dc.contributor.author | พระครู, รัตนากรวิสุทธิ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-18T07:48:42Z | - |
dc.date.available | 2022-03-18T07:48:42Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/417 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของเกษตรกรในการจัดการสวนทุเรียนในจังหวัดระยอง ๒) เพื่อศึกษาการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการสวนทุเรียนในจังหวัดระยอง และ ๓) เพื่อวิเคราะห์การจัดการสวนทุเรียนโดยการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นของเกษตรกรในจังหวัดระยอง การวิจัยโดยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผู้ให้ข้อมูลหลักในการสัมภาษณ์ จานวน ๒๘ คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ๑. ปัญหาของชาวสวนทุเรียนและวิธีการแก้ปัญหาของชาวสวนทุเรียนในจังหวัดระยอง ปัญหาและอุปสรรคของเกษตรกรในจังหวัดระยองที่มีอยู่ทั่วไปจะแบ่งได้เป็น ๓ ประเภท คือ ๑. ปัญหาจากแมลง ๒. ปัญหาจากโรคต่างๆ ๓. ปัญหาจากหนอน เกษตรกรมีวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ หลายวิธีแตกต่างกันออกไป ๒. การบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการสวนทุเรียนในจังหวัดระยอง สิ่งสาคัญ คือ ต้องรู้ ต้องเข้าใจ และต้องศึกษา ว่าทุเรียนต้องการอะไร เข้าใจธรรมชาติของทุเรียนเป็นอย่างไร และที่สาคัญต้องเรียนรู้ทุเรียนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งตามข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ พบว่า ภูมิปัญญาในการจัดการสวนทุเรียนสามารถจัดเป็นขั้นตอนได้ คือ ๑. การเตรียมการปลูก ๒. ขั้นการปลูกทุเรียน ๓. การดูแลรักษา ๔. การผลิตผล และ ๕. การดูแลรักษาต้นทุเรียนหลังการเก็บผลทุเรียน ๓. วิเคราะห์การจัดการสวนทุเรียนโดยการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นของเกษตรกรในจังหวัดระยอง พบว่า ปัจจุบันการปลูกทุเรียนเป็นการสร้างรายได้ที่ดี เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคเป็นอย่างมาก เพราะมีรสชาติที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค ผู้ที่จะทาสวนทุเรียน ต้องมีการวางรากฐานมีการวางแผนตั้งแต่เริ่มปลูก จนถึงการเก็บผลผลิต และดูแลหลังการเก็บผลทุเรียน ซึ่งทุกขั้นตอนเป็นเรื่องละเอียดอ่อนพอสมควร ๔. องค์ความรู้ได้จากการวิจัย ประกอบด้วย ๑. การเตรียมการปลูก ๒. การปลูกทุเรียน ๓ ต้นต่อหนึ่งหลุม ๓. การป้องกันโดยให้ทุเรียนยึดกันเอง ๔. การให้ทุเรียนแก่พร้อมกัน ๕. การทาทุเรียนสาวให้มีคุณภาพ | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การบูรณาการ | en_US |
dc.subject | ภูมิปัญญาท้องถิ่น | en_US |
dc.subject | การจัดการสวนทุเรียน | en_US |
dc.title | การบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการสวนทุเรียนของเกษตรกร ในจังหวัดระยอง | en_US |
dc.title.alternative | The Integrating local wisdom in the management of the farmers Durian Park in Rayong province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2561-318 ดร. สุเทพ เชื้อสมุทร.pdf | 2.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.