Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/408
Title: | กลยุทธ์การบริหารจัดการด้านสาธารณสงเคราะห์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา |
Other Titles: | Strategies for public welfare management of the Sangha Administrators In the district Chachoengsao |
Authors: | ขนฺติพโล, พระใบฎีกาพงษ์ศักด์ิ, เสฏฺฐเมธี, กฤษณ์ธนินต์ |
Keywords: | กลยุทธ์ การบริหารจัดการ สาธารณะสงเคราะห์ |
Issue Date: | 2560 |
Publisher: | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
Abstract: | ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑) เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหาการบริหารจัดการด้านสาธารณสงเคราะห์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอาเภอเมือง จังหวัด ฉะเชิงเทรา ๒) เพื่อศึกษากลยุทธ์การบริหารจัดการด้านสาธารณสงเคราะห์ของพระสังฆาธิการใน เขตอา เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ๓) เพื่อเสนอกลยุทธ์ รูปแบบการบริหารจัดการด้านสาธารณ สงเคราะห์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอา เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทราการวิจัยครั้งนี้ ใช้ระเบียบ วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลภาคสนามจากผู้ให้ข้อมูลสาคัญ ได้แก่ พระสังฆาธิการในเขต อา เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการและ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านการสาธารณ สงเคราะห์ โดยแบบเจาะจง การสัมภาษณ์ เชิงลึกมีผู้ให้ข้อมูลสาคัญ จานวน ๒๐ รูป/คน โดยใช้ แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การ สนทนากลุ่ม เฉพาะ จานวน ๙ รูป/คน ใช้แบบบันทึกการสนทนากลุ่มเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูล และ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ เนื้อหาประกอบบริบท ผลการวิจัยพบว่า ๑. สภาพปัญหาการบริหารจัดการด้านสาธารณสงเคราะห์ของพระสังฆาธิการ ในเขต อา เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา สามารถแยกตามลักษณะสา คัญของภารกิจการสาธารณสงเคราะห์ ๔ ประการ คือ ๑) ด้านการดา เนินกิจการเพื่อช่วยเหลือเกื้อกูล ได้แก่ การที่วัดหรือคณะสงฆ์ ดา เนินการ เองซึ่งกิจอย่างใดอย่างหนึ่งมีวัตถุประสงค์ให้เป็นสาธารณประโยชน์ ๒) การช่วยเหลือเกื้อกูลกิจการ ของผู้อื่นเพื่อสาธารณประโยชน์ ได้แก่ การช่วยเหลือสนับสนุนส่งเสริมกิจการของรัฐหรือของเอกชน หรือผู้ใดผู้หนึ่งดา เนินการ และการนั้นเป็นไปเพื่อการสาธารณะประโยชน์ ๓) การเกื้อกูลสาธารณ สมบัติสถานที่อันเป็นสาธารณสมบัติ ได้แก่ การช่วยเหลือสนับสนุนเกี่ยวกับสถานที่และวัตถุอันเป็นไป เพื่อการสาธารณะประโยชน์ และ ๔) การเกื้อกูลประชาชนหรือสรรพสัตว์ หมายถึง การช่วยเหลือ ประชาชนในการคอยช่วยเหลือทั้งในภาวะปกติ และภาวะประสบภัยต่าง ๆ อันเป็ นไปเพื่อการ สาธารณะประโยชน์ ๒. กลยุทธ์การบริหารจัดการด้านสาธารณสงเคราะห์ ของพระสังฆาธิการในเขตอา เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีดังนี้ ๑) ด้านการดา เนินกิจการเพื่อช่วยเหลือเกื้อกูล มีจุดแข็งคือ วัดมีสถานที่ รองรับการดา เนินงาน พระสังฆาธิการในพื้นที่เป็นผู้รับรู้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนอย่างแท้จริง และ คณะสงฆ์ มีนโยบายส่งเสริมการดาเนินงานด้านสาธารณสงเคราะห์ มีจุดอ่อนคือ กิจการบางประเภท ขาดงบประมาณสาหรับดาเนินการโดยต่อเนื่อง มีโอกาสคือ พุทธศาสนิกชนให้การสนับสนุนการ ดาเนินงานกิจการของวัด และหน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนการดาเนินงานอย่างเต็มที่ใน ขอบเขตที่กระทา ได้ และมีอุปสรรคคือ สื่อมวลชนไม่ช่วยเผยแพร่ข่าวสารด้านสาธารณสงเคราะห์ เท่าที่ควร ๒) ด้านการช่วยเหลือเกื้อกูลกิจการของผู้อื่นเพื่อสาธารณประโยชน์ มีจุดแข็งคือ วัดเป็น ศูนย์กลางของชุมชน และพระสังฆาธิการเป็นผู้นาทางจิตวิญญาณของคนในชุมชน มีจุดอ่อนคือ ขาดการประสานงานที่ดีระหว่าง วัดและหน่วยงานรัฐหรือเอกชน มีโอกาสคือ กระแสนิยมแนวคิด จิตสาธารณะของคนในสังคม และมี อุปสรรคคือ วัดหรือคณะสงฆ์มีส่วนร่วมจา กัดอยู่ในขอบเขต ของผู้ให้การสนับสนุน ๓) ด้านการเกื้อกูลสาธารณสมบัติสถานที่อันเป็นสาธารณสมบัติ มีจุดแข็ง คือ พระสังฆาธิการเป็นผู้นาที่ดี มีจุดอ่อนคือ ขาดการปลูกฝังเรื่องการดูแลรักษาสาธารณสมบัติแก่ ประชาชน มีโอกาสคือ พุทธศาสนิกชนบริจาคเงินในการจัดสร้างสาธารณสมบัติที่ฝ่ายสงฆ์ เป็น ผู้ดา เนินการ และมีอุปสรรคคือ บุคคลหรือกลุ่มคนบุกรุกพื้นที่ที่เป็นสาธารณสมบัติเพื่อแสวงหา ประโยชน ์ และ ๔) ด้านการเกื้อกูลประชาชนหรือสรรพสัตว์ มีจุดแข็งคือ พระพุทธศาสนามีหลักธรรม ที่เหมาะสาหรับคนทุกเพศทุกวัย และพื้นที่ของวัดเป็ นเขตอภัยทาน มีจุดอ่อนคือ คณะสงฆ์ไม่มี หน่วยงานถาวรรองรับกรณีสงเคราะห์ประชาชนในภาวะประสบภัยพิบัติ มีโอกาสคือ ธรรมะเป็นที่ ตอ้ งการของคนในสังคมปัจจุบัน และมีอุปสรรคคือ กฎหมายมิได้ เอื้อให้สงเคราะห์สัตว์ได้ทุก ประเภท ๓. เสนอกลยุทธ์ รูปแบบการบริหารจัดการด้านสาธารณสงเคราะห์ ของพระสังฆาธิการ ในเขตอา เภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ตามรายด้านของการวิจัย มีดังนี้ ๑) ด้านการดา เนินกิจการเพื่อ ช่วยเหลือเกื้อกูล ได้แก่ การสร้างเครือข่ายภาคีความร่วมมือ ๓ ฝ่ าย (บ้าน-วัด-รัฐ) โดยมีวัดเป็นศูนย์ กลางการขับเคลื่อน บนพื้นฐานของหลักสามัคคีธรรม คือ เมตตา สังคหวัตถุ และความเป็นธรรม พร้อมทั้งเปิ ดโอกาสให้ทุกฝ่ ายสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่แท้จริงได้ เน้นความเหมาะสมกับ บริบทของแต่ละพื้นที่ ๒) ด้านการช่วยเหลือเกื้อกูลกิจการของผู้อื่นเพื่อสาธารณประโยชน์ คือ การ ส่งเสริมบทบาทพระสังฆาธิการในฐานะผู้นากลุ่มจิตอาสาประจาชุมชน ได้แก่ การบริหารจัดการ คุณลักษณะ ด้านบุคลิกภาพของพระสังฆาธิการ การบริหารจัดการคุณลักษณะด้านเทคนิคการสร้าง แรงจูงใจ และการบริหารจัดการคุณลักษณะทางด้านทักษะ ประสบการณ์ และความรู้ความสามารถ ที่สัมพันธ์กับงานสาธารณสงเคราะห์ ๓) ด้านการเกื้อกูลสาธารณสมบัติสถานที่อันเป็นสาธารณสมบัติ คือการจัดตั้งกองทุนดูแลรักษาสาธารณสมบัติ โดยมีพระสังฆาธิการเป็นแกนนา ในการรับบริจาค จากพุทธศาสนิกชนในพื้นที่ การตั้งกองทุนให้เป็นไปใน ลักษณะทุนนิธิโดยมีผู้ดูแลในรูปแบบของ คณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนฝ่ ายคณะสงฆ์ ฝ่ ายบ้านเมือง และประชาชนในชุมชนนั้นๆ โดยการนา เงินในกองทุนไปใช้ เน้นการการซ่อมแซมหรือบา รุงรักษาสาธารณสมบัติของชุมชนให้ อยู่ในสภาพดี และการจัดกิจกรรมการอบรมเยาวชนให้มีจิตสานึกรักและหวงแหนสาธารณสมบัติ ของชุมชนเป็นสาคัญ และ ๔) ด้านการเกื้อกูลประชาชนหรือสรรพสัตว์ คือ การจัดตั้งศูนย์บา บัด สภาพจิตใจแก่ผู้ยากไร้และผู้ประสบภัยพิบัติ โดยใช้พื้นที่ของวัด เป็นที่ตั้งศูนย์ฯ มีโครงสร้างการ บริหารในรูปแบบของคณะกรรมการร่วมระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ าย มีแผนปฏิบัติการรองรับ กรณีเกิดภัยพิบัติกะทันหัน มีรูปแบบของการดา เนินงานหลัก คือ กิจกรรมการเยียวยาด้านจิตใจ โดย ให้พระสงฆ์ปฏิบัติงานร่วมกับบุคลากรจากกรมประชาสงเคราะห์ และให้ สามารถลงปฏิบัตินอก พื้นที่เพื่อบา บัดสภาพจิตใจแก่ผู้ยากไร้และผู้ประสบภัยพิบัติที่ไม่สามารถเดิน ทางเข้ารับบริการได้ |
URI: | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/408 |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-211 พระใบกีกาพงษ์ศักดิ์.pdf | 5.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.