Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/398
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พระครูปลัด, พรหมเรศ | - |
dc.contributor.author | วูวงศ์, อรอนงค์ | - |
dc.contributor.author | ฟองคำ, เกรียงศักดิ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-18T06:58:23Z | - |
dc.date.available | 2022-03-18T06:58:23Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/398 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดและวิถีอัตลักษณ์ของครูบามหา เถระในล้านนา ๒) เพื่อศึกษาบทบาทการเชื่อมโยงเส้นทางวัฒนธรรมของครูบา มหาเถระในล้านนา และ ๓) เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลความสัมพันธ์และผลงานที่มีต่อการศึกษา การเผยแผ่ การสร้างเครือข่าย และวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาของครูบามหาเถระในล้านนา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิง คุณภาพ โดยทาการศึกษาจากเอกสาร ตารา ผลการวิจัยพบว่า ๑. แนวคิดและวิถีอัตลักษณ์ของครูบามหาเถระในล้านนา พบว่า ๑)ความมุ่งมนั่ ใน การศึกษาธรรมวินัยและพระไตรปิฎกให้แตกฉานจนสามารถรวบรวมรจนาหรือจารึกคัมภีร์ใบลานและนามาเผย แผ่ไว้มากมาย ๒)ปฏิปทา จริยวัตรที่เรียบร้อยงดงามควรแก่การเคารพและบูชาเป็ นที่ประจักษ์แก่สังคมตัง้ แต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น ความสันโดษ ความเสียสละ ๓)คุณสมบัติเฉพาะของคาว่า “ครูบา” คือ ความเป็ นผู้ ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบและสร้างคุณงามความดีอัน้ นาไปสู่การเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่เชื่อมโยงกับวิธีการต่างๆ เพื่อสร้างพลังศรัทธาให้แก่พุทธศาสนิกชน ๒. บทบาทการเชื่อมโยงเส้นทางวัฒนธรรมของครูบามหาเถระในล้านนา พบว่า ๑) การรจนา รวบรวมและจารึกคัมภีร์พระไตรปิฎก อีกทัง้ ในรูปแบบของวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาต่างๆ ๒) การจารึกไป ในสถานที่ต่างๆ เพื่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์ศาสนสถานต่างๆ โดยร่วมกับวัดและชุมชนเพื่อให้เป็นศูนย์กลาง ของพุทธศาสนิกรรม ๓) การเผยแผ่พุทธศาสนาไปสู่ดินแดนพุทธศาสนาในต่างประเทศ โดยการก่อตัง้ สานัก ปฏิบัติธรรมต่างๆ นอกจากนี ้มีการเทศน์และอบรมการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานฐาน ๓. อิทธิพล ความสัมพันธ์และผลงานที่มีต่อการศึกษา เผยแผ่ การสร้างเครือข่ายและวัฒนธรรม ทางพระพุทธศาสนาของครูบามหาเถระในล้านนาพบว่า ๑) สร้างวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาจากความเชื่อ ของพุทธศาสนิกชนที่มีต่อวรรณกรรมและคัมภีร์ใบลานโดยให้นักวิชาการหรือสถาบันการศึกษาต่างๆ เข้ามาทา การปริวรรตคัมภีร์ใบลานและนาเอาองค์ความรู้นัน้ มาเผยแผ่สู่สาธารณชนในรูปแบบต่างๆ ๒) การสร้างและ บูรณปฏิสังขรณ์สถานที่สาคัญทางพระพุทธศาสนาในจังหวัด และ เขตภาคเหนือเป็นการสร้างศรัทธาแก่ พุทธศาสนิกชนที่อยู่ห่างไกล อีกทัง้ การสร้างวัตถุที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนในเขตภาคเหนือซึ่งถือว่าเชื่อมสัมพันธ์ วัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ก่อให้เกิดศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชน เช่น ถนน วัด โบสถ์ วิหาร เจดีย์ อาคารและ สถานศึกษา ๓) การสนับสนุนส่งเสริมพระภิกษุและสามเณรในด้านการศึกษา เช่น พระภิกษุและสามเณร ต่างชาติที่เข้ามาเรียนในประเทศไทย การสร้างศาสนทายาทเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นการวางรากฐาน พระพุทธศาสนาให้มั่นคงสืบต่อไป ๔) สร้างเครือข่ายด้วยการเผยแผ่หลักการในการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน โดยการจาริกไปในสถานที่ต่างๆ ในเขตภาคเหนือซึ่งเป็นการเชื่อมโยงชาติพันธุ์ อีกทั้งได้เผยแผ่การปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานไปยังประเทศต่างๆ ทั้งแถบเอเชีย ยุโรป และอเมริกา | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | บทบาท | en_US |
dc.subject | การเชื่อมโยง | en_US |
dc.subject | พระมหาเถระ | en_US |
dc.subject | ล้านนา | en_US |
dc.title | บทบาทการเชื่อมโยงภูมิภาคของพระมหาเถระในล้านนา | en_US |
dc.title.alternative | The Role and Connection Region of Most Veneble in Lanna | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-025 พระครูปลัดพรหมเรศ โชติวโร.pdf | 5.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.