Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/395
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Sanu, Mahatthanadull | - |
dc.contributor.author | Sarita, Mahatthanadull | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-18T06:54:22Z | - |
dc.date.available | 2022-03-18T06:54:22Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/395 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์ ๒ ประการคือ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิด เรื่องความสมดุลของครอบครัวในพระพุทธศาสนาและทฤษฎีพฤติกรรมครอบครัวทางจิตวิทยาและ ๒) เพื่อเสนอแนะพฤติกรรมในการเสริมสร้างความสมดุลของครอบครัวตามหลักพุทธจิตวิทยา คณะผู้วิจัย ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลพร้อมทั้งการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลหลัก ๑๐ ท่านจาก ๕ ประเทศ และตรวจสอบการหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสัมภาษณ์โดยผู้เชี่ยวชาญ ๓ ท่าน ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าความสมดุลของครอบครัวหมายถึงความสัมพันธ์ที่ดี มีความสุข และสมดุลของครอบครัวคือกลุ่มบุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยกันซึ่งอาจเป็นได้ทั้งครอบครัวแบบคู่สมรส หรือ ครอบครัวแบบพ่อแม่ลูก สมาชิกในครอบครัวควรมีรูปแบบของพฤติกรรมเชิงพุทธที่คล้ายกัน ใน ปริมาณที่เท่ากัน และเป็นประโยชน์ร่วมกัน ประการแรกในครอบครัวแบบคู่สมรส (SPOUSE Family) สามีและภรรยาต้องมีทั้งคุณสมบัติที่ครบถ้วนตามหลักคุณธรรมสาหรับผู้ครองเรือน (ฆราวาสธรรม) มีความเท่าเทียมกันตามหลักชีวิตที่สมดุล (สมชีวิธรรม) และมีความรับผิดชอบต่อ หน้าที่ของตนเองตามคาสอนของพระพุทธศาสนาตามที่ปรากฏในสิงคาลกสูตร ตลอดจนการใช้ชีวิต ร่วมกันในฐานะคู่รักแบบเทวดา ไม่ใช่คู่รักแบบผี ประการที่สองในครอบครัวแบบพ่อแม่ลูก (PARENTS-CHILDREN Family) สมาชิกควรร่วมกันยึดหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนาในการ ดารงชีวิต เช่นความรู้คุณและตอบแทนคุณท่าน (กตัญญูกตเวทิตา) พร้อมทั้งฝึกฝนตนเองให้มีความ รับผิดชอบในหน้าที่ของตนเองตามแบบอย่างในสิงคาลกสูตร ตลอดจนศักยภาพในการรักษาทรัพย์ สมบัติเพื่อดารงสกุลให้คงอยู่สืบไป ส่วนทฤษฎีทางจิตวิทยาทั้งทฤษฎีระบบครอบครัว (Family Systems Theory) และทฤษฎีพฤติกรรมวางแผน (Planned Behavior Theory-PBT) ได้ อธิบายถึงระบบ โครงสร้าง ความสัมพันธ์ ความเชื่อ พฤติกรรมการวางแผน และดุลยภาพของ ครอบครัว ท้ายที่สุด พฤติกรรมมนุษย์ทั้ง ๔ ด้านคือ (๑) พฤติกรรมเชิงคุณธรรม (๒) พฤติกรรมเชิง ความรับผิดชอบ (๓) พฤติกรรมต่างตอบแทนซึ่งกันและกัน (๔) พฤติกรรมการสนับสนุน พฤติกรรม เหล่านี้เป็นกุญแจสาคัญในการเสริมสร้างความสมดุลของครอบครัวอย่างยั่งยืนตามหลักพุทธจิตวิทยา | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | Human Behaviors Promoting | en_US |
dc.subject | Balance of Family Buddhist Psychology | en_US |
dc.title | พฤติกรรมมนุษย์ในการสร้างเสริมความสมดุลของครอบครัวตามแนวจิตวิทยาเชิงพุทธ | en_US |
dc.title.alternative | HUMAN BEHAVIORS IN PROMOTING BALANCE OF FAMILY ACCORDING TO BUDDHIST PSYCHOLOGY | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-262 Sanu Mahatthanadull.pdf | 9.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.