Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/388
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุวรรณสิริเมธี, กิตติพัฒน์-
dc.contributor.authorยังทะเล, มนัสพ-
dc.date.accessioned2022-03-18T06:38:06Z-
dc.date.available2022-03-18T06:38:06Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/388-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ ๑. เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้งานวิจัยด้าน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดนครราชสีมา ๒. เพื่อศึกษารูปแบบการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ งานวิจัยด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดนครราชสีมา ๓. เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ งานวิจัยด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดนครราชสีมา เปนการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยคนควา จากพระไตรปฎกเปนเอกสารหลัก พรอมทั้งศึกษาทฤษฎีปญหาความจากตาราวิชาการ และเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของลงพื้นที่สัมภาษณและ สังเกตการณ์ ผลการวิจัยพบวา การสังเคราะห์องค์ความรู้เป็นวิธีวิทยาการวิจัย ที่ใช้ในการศึกษา อย่างเป็นระบบเพื่อเชื่อมโยง องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย สังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่อย่างเป็น ระบบและนาไปสู่การปฏิบัติ แบ่งเป็นการสังเคราะห์เชิงปริมาณ และการสังเคราะห์เชิงคุณภาพ การ สังเคราะห์องค์ความรู้งานวิจัยด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดนครราชสีมา และนาไปต่อยอด ทางความคิดสู่การปฏิบัติ รูปแบบการประยุกต์ใช้องค์ความรู้งานวิจัยด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัด นครราชสีมา แบ่งออกเป็น ๓ รูปแบบ คือ ๑) รูปแบบการศึกษาเรื่องเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงและ เศรษฐกิจชุมชนในฐานะปรัชญาและแนวคิดพัฒนาสังคม ๒) รูปแบบการศึกษาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ เศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจชุมชนคณะบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการกิจกรรมีที่ยึดหลัก แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓) รูปแบบการศึกษาการประยุกต์ใช้และรูปแบบของแนวคิด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ได้รับการศึกษาจากงานวิจัย จากการศึกษารูปแบบทาให้ทราบถึงแนวทางการประยุกต์ใช้องค์ความรู้งานวิจัยด้าน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดนครราชสีมา ความพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว มุ่งเน้นให้ บุคคลและครอบครัวอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขทั้งทางกายและทางใจ พึ่งพาตนเองอย่างเต็ม ความสามารถ ไม่ทาอะไรเกินตัว ดาเนินชีวิตโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น รวมทั้งใฝ่รู้และมีการ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงชีวิต และ ปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับชุมชน การพัฒนาและบริหารให้ดาเนินไปในทางสายกลาง อยู่ได้ โดยไม่สร้างความเดือดร้อนให้ตนเอง และผู้อื่นในชุมชน โดยคานึงถึงหลักการ ๓ ประการที่สาคัญคือ ประการที่ ๑ ความพอประมาณ ประการที่ ๒ ความมีเหตุผล และ ประการที่ ๓ การสร้างภูมิคุ้มกันที่ ดีในตัวท่านใช้ทรัพยากรทุกชนิดอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงสุดท่านมีการวางแผนการใช้จ่าย ของตัวเองในชีวิตประจาวัน ท่านลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยของตัวเอง เช่น การลดและละเลิกอบายมุข เป็นต้นen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดการองค์ความรู้en_US
dc.subjectปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงen_US
dc.subjectการพัฒนาสังคมen_US
dc.subjectจังหวัดนครราชสีมาen_US
dc.titleการจัดการองค์ความรู้งานวิจัยด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนำไปใช้เพื่อการพัฒนาสังคมในจังหวัดนครราชสีมาen_US
dc.title.alternativeKNOWLEDGE MANAGEMENT OF RESEARCH OF SUFFICIENCY ECONOMY PHOLOSOPY FOR SOCIAL DEVERLOPMENT IN NAKHON RATCHASIMAen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.