Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/383
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | แกมนาค, ฤทธิชัย | - |
dc.contributor.author | พระครูวิมลศิลปกิจ | - |
dc.contributor.author | พันเลิศพาณิชย์, สุภัชชา | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-18T06:30:40Z | - |
dc.date.available | 2022-03-18T06:30:40Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/383 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนและนักท่องเที่ยวในการพัฒนาของวัดและชุมชนในล้านนา ๒) เพื่อศึกษากระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดและชุมชนในล้านนา ๓) เพื่อวิเคราะห์การสร้างจิตสานึกกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวของวัดและชุมชนในล้านนา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยการวิจัย เชิงปริมาณใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ๔๐๐ คน การวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มย่อย พระสังฆาธิการ พระสงฆ์ ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑๒ รูป/คน เพื่อนามาวิเคราะห์กระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยว ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ๑. การมีส่วนร่วมของชุมชนและนักท่องเที่ยวในการพัฒนาของวัดและชุมชนในล้านนาพบว่า ด้านความตระหนัก วัดและชุมชนควรมีการศึกษาและประเมินผลกระทบที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ด้านการท่องเที่ยว ด้านความรับผิดชอบในสิ่งที่คิดและกระทาอยู่เสมอ วัดและชุมชนปลูกฝังให้นักท่องเที่ยวและบุคคลทั่วไปมีค่านิยมในการช่วยกันอนุรักษ์วัฒนธรรม ระมัดระวังขณะเข้าชมสถานที่ท่องเที่ยวไม่ให้ทรุดโทรมหรือเสียหาย ด้านการเล็งเห็นความสาคัญ วัดและชุมชนควรมีการจัดทาประชาสัมพันธ์ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว เพื่อให้นักท่องเที่ยวเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้น ๆ ด้านความจาเป็น วัดและชุมชนความปลูกจิตสานึกให้แก่เยาวชนและคนในชุมชนให้เห็นถึงคุณค่าของวัฒนธรรมที่มีมาตั้งแต่อดีต ด้านความรับผิดชอบ นักท่องเที่ยวมีความเห็นว่า วัดและชุมชนควรแสวงหาความร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือของบุคคลภายในชุมชนและรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกัน ๒. กระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดและชุมชนในล้านนา พบว่าวัดและชุมชน ควรส่งเสริมอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ภาครัฐควรมีนโยบายด้านการสร้างมัคคุเทศก์ไปประจาวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโบราณสถาน โบราณวัตถุที่มีอยู่ในวัดเหล่านั้น วัดจัดทาป้ายภาษาทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษและภาษาจีน เพื่อแสดงประวัติความเป็นมาและความสาคัญของสถานที่สาคัญของวัด รวมทั้งป้ายประชาสัมพันธ์ข้อควรปฏิบัติเกี่ยวกับการแต่งกายและการประพฤติที่เหมาะสม วัดจัดสร้างสภาพแวดล้อมภายในให้มีความร่มรื่น และนักท่องเที่ยวควรปฏิบัติตามกฎระเบียบของวัดที่ได้มีการติดป้ายประกาศและเอกสารประชาสัมพันธ์ ๓. วิเคราะห์การสร้างจิตสานึกกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวของวัดและชุมชนในล้านนาพบว่าควรเสริมสร้างความรู้แก่บุคลากรภายในชุมชนเพื่อรองรับกิจกรรมการจัดการท่องเที่ยว การจัดสรรพื้นที่ของวัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดและพัฒนาจิตสานึกในการท่องเที่ยว วัดต้องนาเอกลักษณ์ที่เป็นจุดเด่นเฉพาะพื้นที่ เผยแพร่สู่สาธารณชนให้อยากมาท่องเที่ยว หน่วยงานภาครัฐและเอกชนต้องช่วยเหลือผักดันให้กิจกรรมสาเร็จ และควรใช้มาตรการ ๑)การอนุรักษ์ วัดจะต้องไม่ทาลาย ศาสนสถานและสถาปัตยกรรมแบบล้านนาดั้งเดิม ๒) การป้องกัน วัดจะต้องไม่สร้างสถาปัตยกรรมแปลกปลอม หรือมีสิ่งปลูกสร้างบดบังทัศนียภาพของศาสนสถาน ๓) ความเข้าใจ วัดควรมีการบริหารจัดการในด้านความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความมีสุขอนามัย | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กระบวนการสร้างจิตสานึก | en_US |
dc.subject | การพัฒนา, | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | en_US |
dc.title | กระบวนการสร้างจิตสานึกในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัด และชุมชนในล้านนา | en_US |
dc.title.alternative | The Process of Raising Consciousness in Cultural Tourism Development of Temples and Communities in Lanna | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-051ผศ.ดร.ฤทธิชัย แกมนาค.pdf | 5.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.