Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/381
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระครูสุมณฑ์ธรรมธาดา-
dc.contributor.authorพระครูปิยกิจบัณฑิต-
dc.contributor.authorสระทองให้, เสถียร-
dc.date.accessioned2022-03-18T06:18:05Z-
dc.date.available2022-03-18T06:18:05Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/381-
dc.description.abstractบูรณาการองค์ความรู้ และวิถีปฏิบัติทางพระพุทธศาสนากับการพัฒนาสังคมในอาเซียนครั้งนี้ จากการวิจัยในวัตถุประสงค์ข้อที่ ๑ พบว่า วิถีปฏิบัติทางพระพุทธศาสนาในสังคมอาเซียน คือ ๑) การทำบุญตักบาตร การไหว้พระสวดมนต์ ในแต่ละวัน ๒) ประเพณีการบวช ชาวพุทธถือเป็นสิ่งที่ยึดถือปฏิบัติกันมานานคล้ายคลึงกันในอาเซียน ๓) การศึกษาธรรมะ ที่มาในหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษา ๔) วิถีปฏิบัติอื่นๆ เช่น สลากภัต ลอยกระทง สงกรานต์ วันธัมมัสสวนะฯลฯ ทั้ง ๒ พื้นที่ต่างก็มีข้อปฏิบัติประเพณีนิยมในลักษณะเดียวกัน จากวัตถุประสงค์ข้อที่ ๒ พบว่า วิถีปฏิบัติทางพระพุทธศาสนากับการพัฒนาสังคมในอาเซียน ได้มีการพัฒนาตามมิติ ๔ ด้านดังนี้ ๑) ด้านประชากร คือ วัดมีส่วนร่วมกับชุมชนที่มีประชากรด้วยกิจกรรมทางศาสนาร่วมกัน ๒) ด้านสุขภาพ คือ วัดมีบทบาทด้านการส่งเสริมสุขภาพของชาวชุมชนด้านพื้นที่แก่ แพทย์พยาบาล หรือหน่วยงานสาธารณสุข ๓) ด้านการศึกษา คือ วัดฯร่วมกับคณะสงฆ์จัดการศึกษานักธรรมและการศึกษานอกโรงเรียน ๔) ด้านการจ้างงาน คือวัดฯ มีพื้นที่จัดการค้าขายของชุมชนเกิดการจัดซื้อจัดจ้าง จากวัตถุประสงค์ข้อที่ ๓ พบว่า การบูรณาการองค์ความรู้และวิถีปฏิบัติทางพระพุทธศาสนากับการพัฒนาสังคมในอาเซียน พบการบูรณาการ ๒ ด้าน คือ ๑) ด้านรูปแบบ กระบวนการบูรณาการวิถีปฏิบัติกับพัฒนาสังคม ได้แก่ กายภาวนากับมิติทางสังคมด้านประชากร/การจ้างงาน คือ รูปแบบของกิจกรรมจิตอาสา รูปแบบของการจัดพื้นที่เพื่อการค้าและ การจ้างงาน ด้านสีลภาวนา กับมิติทางสังคมด้านสุขภาพ คือ สร้างโครงการต่อเนื่องในรูปแบบของการสมาทานศีลปฏิบัติ สร้างเป็นสภาแห่งการรักษาสุขภาพตามหลักธรรม ขับเคลื่อนแนวทางรักษาสุขภาพตามหลักการถือศีลอุโบสถ ในหลักด้านจิตภาวนา กับมิติทางสังคมด้านสุขภาพ คือ นำเอาหลักการฝึกจิตสอดแทรกในทุกกิจกรรม ด้วยรูปแบบของกิจกรรมการสวดมนต์ไหว้พระทุกวันในตอนเช้าและตอนเย็น ในหลักด้านปัญญาภาวนา กับมิติทางสังคมด้านการศึกษา คือ บูรณาการด้วยการให้การศึกษาด้านหลักธรรมที่นอกเหนือจากในหลักสูตรนักธรรม กิจกรรมที่ส่งเสริมความรู้ในทางปัญญา ที่มาในโครงการปฏิบัติธรรมหรือโครงการการบรรพชาอุปสมบท การจัดแคมเปญกับหน่วยงานในช่วงเทศกาล ๒) ด้านแนวทางการดำเนินงานโดยใช้วิถีปฏิบัติทางพุทธศาสนา คือ การประชุมแนวทางการขั้en_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectบูรณาการen_US
dc.subjectองค์ความรู้en_US
dc.subjectวิถีปฏิบัติen_US
dc.subjectพระพุทธศาสนาen_US
dc.subjectการพัฒนาสังคมen_US
dc.subjectอาเซียนen_US
dc.titleบูรณาการองค์ความรู้ และวิถีปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา กับการพัฒนาสังคมในอาเซียนen_US
dc.title.alternativeKNOWLADGE INTEGRATION AND PRACTICE OF BUDDHISM AS WELL AS SOCIAL DEVELOPMENT IN ASEANen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2562-303พระครูสุมณฑ์ธรรมธาดา, ผศ.ดร (1).pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.