Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/371
Title: | การพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ตลาดอาเซียนตามแนวพุทธ |
Other Titles: | Development potential of OTOP the product to ASEAN Buddhist Way |
Authors: | หาญภักดีนิยม, อณิษฐา ปัญญาเรียน, ศิริขวัญ |
Keywords: | พัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ OTOP, ตลาดอาเซียน, แนวพุทธ |
Issue Date: | 2560 |
Publisher: | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
Abstract: | การศึกษาการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ตลาดอาเซียนตามแนวพุทธ 1) เพื่อ ศึกษาสภาพทั่วไปของผลิตภัณฑ์ OTOP ในจังหวัดลาปางตามแนวพุทธ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ตลาดอาเซียนตามแนวพุทธ 3) เพื่อนาเสนอแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ตลาดอาเซียนตามแนวพุทธ ทาการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สอบถามกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสาคัญ 3 กลุ่ม ประกอบด้วย ผู้ประกอบการข้าวแต๋นที่ลงทะเบียนผลิตภัณฑ์ OTOP ได้รับการคัดเลือกสินค้าในระดับ 4-5 ดาว ในจังหวัดลาปาง รวมถึงกลุ่มผู้บริโภคในการซื้อ สินค้าและเจ้าหน้าที่กรมการพัฒนาชุมชน เจ้าหน้าที่พาณิชย์จังหวัดลาปาง เจ้าหน้าที่หอการค้า เจ้าหน้าที่อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวจังหวัดลาปาง ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะสภาพทั่วไปของข้าวแต๋นเป็นข้าวเหนียวทอดกรอบราดน้าอ้อย ที่ผลิตขึ้นในพื้นที่จังหวัดลาปางด้วยภูมิปัญญาของชาวบ้านในจังหวัดลาปาง เป็นสินค้าที่มีเอกลักษณ์ที่ สาคัญ ได้รับมาตรฐานขึ้นเป็นแหล่ง GI ของจังหวัดลาปาง จึงเปรียบเสมือนเป็นแบรนด์ของท้องถิ่นที่ บ่งบอกถึงคุณภาพและแหล่งที่มาของสินค้า ซึ่งคุณภาพของสินค้าจะต้องได้รับมาตรฐานหรือการได้รับ การับรองสินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์แสดงถึงภูมิปัญญาไทยในระดับ 4-5 ดาว เพื่อพัฒนาต่อยอด สู่สากล โดยการพัฒนาสินค้าในกลุ่มนี้ผู้ประกอบการจึงมีบทบาทสาคัญในการรักษามาตรฐานคุณภาพ ของสินค้า โดยยึดหลักธรรมเอาใจใส่แก่ผู้บริโภค ในเรื่องของความปลอดภัย ความสะอาด และความ ซื่อสัตย์ตามหลักอิทธิบาท 4 ฉันทะ วิริยะ จิตตะ และวิมังสา เพื่อเป็นแนวทางในการทากิจการให้ ประสบความสาเร็จอย่างมีคุณภาพจึงมีการเสนอแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ดังนี้ 1) เพิ่ม ประสิทธิภาพกระบวนการผลิต 2) ยกระดับมาตรฐานและการสร้างมูลค่าแก่ผลิตภัณฑ์ 3) การ เสริมสร้างองค์ความรู้แก่ผู้ประกอบการ 4) เพิ่มช่องทางการตลาด และ 5) การเสริมสร้างความ เข้มแข็งของเครือข่าย แนวทางทั้ง 5 ด้าน จะช่วยเสริมสร้างการพัฒนาสินค้าข้าวแต๋นให้เข้าสู่ตลาด สากลไดอย่างมีคุณภาพได้รับมาตรฐาน |
URI: | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/371 |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-097 อณิษฐา หาญภักดีนิยม.pdf | 4.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.