Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/370
Title: การบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนตามแนวพระราชดำริในพื้นที่ลุ่มน้าแม่วงก์
Other Titles: The sustainable irrigation management of royal initiations at Mae Wong watershed area base
Authors: พระครู, นิวิฐศีลขันธ์
พรหมกัลป์, อัครเดช
พรมกัลป์, รัตติยา
Keywords: การบริหารจัดการน้ำ
ตามแนวพระราชดำริ
ลุ่มน้ำแม่วงก์
Issue Date: 2559
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยเรื่อง “การบริหารจัดการน้าอย่างยั่งยืนตามแนวพระราชด้าริในพื้นที่ลุ่มน้าแม่ว”ง กม์ ี วัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาบริบทการบริหารจัดการน้าในพื้นที่ลุ่มน้าแม่วงก์ ๒) ศึกษาสภาพการบริหารจัดการ น้าในพื้นที่ลุ่มน้าแม่วงก์กับแนวทางการบริหารจัดการน้าตามแนวพระราชด้าริ และ ๓) พัฒนารูปแบบการ บริหารจัดการน้าตามแนวพระราชด้าริในระดับชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้าแม่วงก์ โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยวิจัยแบบ คุณภาพภาคสนาม ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเก็บข้อมูลจากการ สัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่มเฉพาะจากผู้ทรงคุณวุฒิระดับพื้นที่ รวมถึงผู้แทนจากหน่วยงานและ ประชาชน ผลการวิจัยพบว่า ๑. ในพื้นที่ลุ่มน้าแม่วงก์มีการบริหารจัดการน้าเป็นต้นว่า การก่อสร้างฝายทดน้า การก่อสร้าง บ่อหรือสระน้าขนาดเล็ก การจัดสร้างระบบเหมืองฝาย และการสนับสนุนให้เกษตรกรมีแหล่งน้าเป็นของตนเอง ส้าหรับเพาะปลูกพืชในฤดูแล้ง ๒. การบริหารจัดการน้าของชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้าแม่วงก์ เดิมมีการขุดบ่อน้าหรือสระน้าเพื่อใช้ ประโยชน์ในการอุปโภคและบริโภค ขณะเดียวกันในบางชุมชนยังมีระบบประปาหมู่บ้านผสมผสานกับระบบ ประปาภูเขาในช่วงฤดูฝน ในส่วนของการบริหารจัดการน้าในพื้นที่การเกษตรนั้นชาวนาส่วนหนึ่งจะสร้างเหมือง ไส้ไก่ให้กระจายอยู่ทั่วผืนนา และมีบ่อล่อปลาที่เชื่อมต่อกับระบบเหมืองซึ่งเป็นแหล่งน้าหลัก ขณะเดียวกันก็มี การท้าไร่นาสวนผสมตามแนวพระราชด้าริเพิ่มมากขึ้นในปัจ จุบัน 3. รูปแบบการบริหารจัดการน้าตามแนวพระราชด้าริในระดับชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้าแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ เป็นการบริหารจัดการบนพื้นฐานของการมีความเข้าใจ เข้าถึง แล้วน้าไปพัฒนาสู่ความ สอดคล้องและสมดุลกับระบบของธรรมชาติตามแนวพระราชด้าริขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ที่ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนคนไทยประพฤติ ปฏิบัติให้สามารถอยู่ ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างเป็นสุข มีการเอื้อประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่กันและกัน เพื่อก่อให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในที่สุด
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/370
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2559-167 พระครูนิวิฐศีลขันธ์.pdf7.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.