Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/365
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ขอเจริญ, ธยายุส, | - |
dc.contributor.author | ประทุมแก้ว, สุทัศน์ | - |
dc.contributor.author | ทิพย์สมบัติ, สมปอง, | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-17T06:48:37Z | - |
dc.date.available | 2022-03-17T06:48:37Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/365 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการปลูกพืชสวน (ทุเรียน) 2) ศึกษากระบวนการปลูกพืชสวน (ทุเรียน) 3) ความพึงพอใจ ปัญหา และอุปสรรคการปลูกพืชสวน (ทุเรียน) ใช้วิธีการวิจัยด้วยแบบผสานวิธี เชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ประชากรผู้ ปลูกทุเรียน จานวน 55 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อนามาวิเคราะห์ถึงกระบวนการพัฒนาการปลูกพืชสวน (ทุเรียน) ของประชาชนในจังหวัดศรีสะเกษ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียน ในจังหวัดศรีสะเกษ ข้อเสนอแนะสภาพทั่วไปของการปลูกพืชสวน (ทุเรียน) มีความพึงพอใจต่อการปลูกทุเรียน ในระดับน้อย 1) การได้รับความช่วยเหลือจากทาง ภาครัฐหรือท้องถิ่นในด้านการพัฒนาการปลูกทุเรียน 2) การติดต่อรับความช่วยเหลือกับหน่วยงาน อื่นเพื่อให้ความรู้ในการปลูกทุเรียน ที่ผู้ให้ข้อมูลระบุว่ามีความพึงพอใจน้อยและน้อยที่สุดเกือบ ครึ่งหนึ่ง เนื่องจากกลุ่มเกษตรกรสนใจที่จะปลูกทุเรียนในพื้นที่ใหม่ และยังมี่การส่งเสริมจากหน่วยงาน ต่าง ๆ จึงเป็นการตัดสินใจเข้าร่วมกลุ่มกันเอง ซึ่งสมาชิกมีเครือข่ายเกษตรกรที่ปลูกทุเรียนในพื้นที่อยู่ แล้ว ในขณะที่มีความพึงพอใจในการรวมกลุ่มเกษตรกรระบุว่าพึงพอใจน้อยและน้อยที่สุด อาจมี สาเหตุจากเกษตรกรยังไม่ให้ความสนใจกิจกรรมของกลุ่ม มากนัก ด้านสภาพทั่วไปของการปลูกพืชสวน (ทุเรียน) การรวมกลุ่มของเกษตรกรเกิดขึ้นจาก การสนใจที่จะปลูกทุเรียนของเกษตรกร ผู้ที่มีความสนใจจึงได้จัดตั้งกลุ่มขึ้นเพื่อที่จะช่วยกัน ปรึกษาหารือถึงปัญหาของบุคคลและช่วยกันแก้ไข แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า การติดต่อรับความช่วยเหลือ กับหน่วยงานอื่นเพื่อให้ความรู้ในการปลูกทุเรียน ผู้ให้ข้อมูลมีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย ทั้งนี้ อาจจะเนื่องมาจากเกษตรกรไม่ค่อยมีเวลาเข้าไปติดต่อรับความช่วยเหลือกับหน่วยงานอื่นเพื่อมาให้ ข ความรู้เกี่ยวกับการปลูกทุเรียน หรือไม่เกษตรกรไม่รู้ว่าจะไปติดต่อรับความช่วยเหลือที่ไหน จากใคร จึงมีผู้ให้ข้อมูลระบุว่า พึงพอใจน้อยและน้อยที่สุดมากกว่าครึ่งหนึ่ง ด้านกระบวนการปลูกพืชสวน(ทุเรียน)เนื่องจากการปลูกทุเรียนของเกษตรกรเกิดจากความ สนใจที่จะปลูกทุเรียนของเกษตรกรความพึงพอใจในด้านการปลูกทุเรียนอยู่ในระดับที่น่าพอใจแต่ใน ประเด็นที่1)กล้า/ท่อนพันธุ์ทุเรียนที่ปลูกเป็นสายพันธุ์ที่มีความนิยมเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค 2) การ เจริญเติบโตของทุเรียน 3) การดูแลรักษาทุเรียนสามารถทาได้ง่าย สะดวก ส่วนสภาพพื้นที่และการ เตรียมแปลงปลูกมีความเหมาะสม ปัญหาโรคและแมลงศัตรูอยู่ในระดับที่สามารถควบคุมจัดการได้ ปริมาณการใช้ปุ๋ยและสารเคมีกาจังศัตรูพืชอยู่ในระดับปานกลาง 1) กล้า/ท่อนพันธุ์ทุเรียนที่ปลูกเป็น สายพันธุ์ที่มีความนิยมเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค 2) การเจริญเติบโตของทุเรียน 3) การดูแลรักษา ทุเรียนสามารถทาได้ง่าย สะดวก ที่ให้ข้อมูลระบุความพึงพอใจน้อยและพึ่งพอใจน้อยที่สุดเป็นจานวน มาก เนื่องมากจาก 1) กล้า/ท่อนพันธุ์ทุเรียนที่ปลูกเป็นสายพันธุ์ที่มีความนิยมเป็นที่ต้องการของ ผู้บริโภค เกษตรกรที่ซื้อกล้าท่อนพันธุ์ทุเรียนมาปลูกยังไม่เป็นที่น่าพึ่งพอใจอาจจะมีสาเหตุเนื่องมาก จากเกษตรกรพึ่งเริ่มนาเข้ามาปลูกโดยที่เกษตรกรยังไม่มีประสบการณ์มากนักจึงทาให้เกิดความ เสียหายต่อผลิตที่ได้ต่ากว่าควรที่จะได้ 2 )การเจริญเติบโตของทุเรียนขาดผู้ให้ความรู้ด้านการปลูกต้น ทุเรียนจึงทาให้การเจริญเติบโตของทุเรียนไม่ค่อยดีนัก 3 )การดูแลรักษาต้นทุเรียน เกษตรกรยังขาด การดูแลรักษาในด้านโรคและแมลงศัตรูพืชและยังใช้ปุ๋ยเคมีมากเกินไปทาให้ต้นพืชและหน้าดินเสื่อม และ มีความเป็นกรดสูง ทาให้เกษตรกรได้ผลผลิตน้อย ด้านความพึงพอใจ ปัญหา และอุปสรรคการปลูกพืชสวน ( ทุเรียน )จากการวิจัยพบว่า ปัญหาของกลุ่มเกษตรกรเกิดจากความไม่แข็งแรงของกลุ่ม ซึ่งอาจเกิดจากกลุ่มที่ก่อตั้งขึ้นไม่มีเงินทุน งบประมาณในการสนับสนุนรายจ่าย จึงมีแต่เพียงชื่อกลุ่มและสมาชิกในกลุ่มเท่านั้นแต่ไม่มีการดาเนิน กิจการให้เกิดประโยชน์ ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีงบสนับสนุนกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกร สามารถนาผลผลิตมาฝากขายกับกลุ่มได้อีกด้วย โดยไม่ต้องผ่านทางพ่อค้าคนกลาง จากการศึกษาพบว่า เกษตรกรยังมีปัญหาเกี่ยวกับการขาดความรู้ประสบการณ์ในการปลูก ทุเรียน การดูแลรักษา และการสนับสนุนปัจจัยการผลิตยังน้อยเกินไป ดังนั้นควรมีการจัดฝึกอบรม เกี่ยวกับการจัดการดูแลรักษาสวนทุเรียน และวิธีป้องกันรักษาสวนทุเรียน ควรให้คาแนะนาเกี่ยวกับ เรื่องโรคและแมลงให้แก่เกษตรกร และเจ้าหน้าที่ควรออกเยี่ยมเยียน สวนทุเรียนในพื้นที่ที่ปลูกเป็น จานวนมากบ่อยๆ กรมส่งเสริมการเกษตรควรดาเนินการฝึกอบรมและพัฒนาเกษตรกรให้มี ประสบการณ์ การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการผลิต เพื่อให้เกษตรกรพัฒนาอาชีพของตน และช่วยเพิ่มแรงงานที่มีคุณภาพในการทาสวนทุเรียนในอนาคตต่อไป | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กระบวนการพัฒนาการปลูกพืชสวน ( ทุเรียน ) | en_US |
dc.subject | จังหวัดศรีสะเกษ | en_US |
dc.title | ระบวนการพัฒนาการปลูกพืชสวน ( ทุเรียน ) ของประชาชนในจังหวัดศรีสะเกษ | en_US |
dc.title.alternative | The development of horticulture (durian) of the people in sisaket province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-165นายธยายุส ขอเจริญ.pdf | 3.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.