Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/357
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระสุธีรัตนบัณฑิต, (สุทิตย์ อาภากโร)-
dc.contributor.authorจองวรรณศิริ, ชวิน-
dc.contributor.authorเล็กประเสริฐ, บัญญัติ-
dc.contributor.authorชื่นคำ, ทรงพล-
dc.contributor.authorเพียซ้าย, เตชค์ฐสิณป์-
dc.contributor.authorจิรเสรีอมรกุล, กมล-
dc.contributor.authorมหัทธนาดุลย์, สานุ-
dc.date.accessioned2022-03-17T06:35:08Z-
dc.date.available2022-03-17T06:35:08Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/357-
dc.description.abstractโลหะผสมไทเทเนียมเป็นวัสดุที่นิยมนามาประยุกต์ใช้เป็นวัสดุทางการแพทย์เนื่องจากมี ความสามารถในการต้านทานการกัดกร่อนและมีความเข้ากันได้ดีกับร่างกาย แต่อย่างไรก็ตามวัสดุ ทางการแพทย์บางชนิดยังต้องการผิวที่มีความเป็น Hydrophobic เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดเกาะของ เกล็ดเลือด หนึ่งในวิธีที่ได้ประสิทธิผลสาหรับการแก้ปัญหานี้คือการใช้กระบวนการพลาสมา ดังนั้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการออกแบบและสร้างเครื่องกาเนิดพลาสมาต้นแบบที่สามารถนามา ประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงผิวของวัสดุทางการแพทย์ได้ ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้ใช้ Borosilicate glass เป็นวัสดุสาหรับทาภาชนะพลาสมาโดยออกแบบให้เป็นระบบสุญญากาศ และออกแบบแผนผัง วงจรไฟฟ้าสาหรับการสร้างวงจรกาเนิดคลื่นความถี่ จากผลการวิจัย พบว่า ความแข็งแรงของ ภาชนะพลาสมาที่ออกแบบมานั้นสามารถรับความเค้นกดได้สูงถึง 70 MPa และจากการออกแบบ วงจรกาเนิดคลื่นความถี่ พบว่า วงจรสามารถกาเนิดคลื่นความถี่ได้ระหว่าง 27-30 MHz หลังจากนั้น ได้นามาทดสอบการเกิดสถานะพลาสมาซึ่งใช้อากาศป้อนเข้าไปในภาชนะพลาสมาที่อยู่ในระบบ สุญญากาศ โดยใช้แหล่งกาเนิดพลังงานที่ให้กาลังต่างกัน พบว่า ทั้งแหล่งกาเนิดพลังงานที่ 4.3 วัตต์ และ 14.4 วัตต์ สามารถกระตุ้นอากาศให้เกิดการแตกตัวเป็นสถานะพลาสมาได้อย่างมีความ เสถียรภาพ ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่า เครื่องกาเนิดพลาสมาต้นแบบนี้สามารถนาไปพัฒนาเพื่อต่อ ยอดและประยุกต์ใช้สาหรับการปรับปรุงผิวของวัสดุด้วยกระบวนการพลาสมาได้en_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectพลาสมาen_US
dc.subjectเครื่องกำเนิดพลาสมาen_US
dc.subjectโลหะผสมไทเทเนียม,en_US
dc.subjectอุปกรณ์การแพทย์en_US
dc.titleการพัฒนาเครื่องกำเนิดพลาสมาเพื่อใช้ปรับปรุงผิววัสดุโลหะผสมไทเทเนียม สำหรับประยุกต์ใช้งานทางชีวภาพen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Plasma Generator Improving Titanium Alloys Surface for Biomedical Applicationsen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-290 พระสุธีรัตนบัณฑิต.pdf4.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.