Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/343
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พระครูรัตนสุตาภรณ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-16T14:06:26Z | - |
dc.date.available | 2022-03-16T14:06:26Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/343 | - |
dc.description.abstract | การวิจัย เรื่อง “การวิเคราะห์องค์ประกอบและการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่ สี่แยกอินโดจีนแบบบูรณาการ” มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและประเด็นกิจกรรมการ พัฒนาเชิงพื้นที่สี่แยกอินโดจีน ๒) เพื่อพัฒนากระบวนการในการสร้างชุดกิจกรรมร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในการขับเคลื่อนสี่แยกอินโดจีน และ ๓) เพื่อถอดบทเรียนในการสร้างชุดกิจกรรมในการ พัฒนาเชิงพื้นที่สี่แยกอินโดจีน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้วิธีการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research-PAR) ผลการวิจัยพบว่า ๑) องค์ประกอบและประเด็นกิจกรรมการพัฒนาเชิงพื้นที่สี่แยกอินโดจีน มีองค์ประกอบ และประเด็นกิจกรรมที่ใช้ในการพัฒนา คือ ภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชนและภาควิชาการต้อง ร่วมมือกันพัฒนาศักยภาพของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ต้องสามารถจัดการทรัพยากรมนุษย์ เงินทุน และวัสดุอุปกรณ์ได้อย่างเป็นระบบ ต้องดาเนินการต่อจากการวางแผนและการจัดองค์กร เมื่อได้มีการ วางแผนงาน จัดแบ่งงานและกาหนดโครงสร้างขององค์กรแล้ว ผู้บริหารก็จะต้องทาการจัดหาคนเข้า ทางานตามตาแหน่งต่างๆ อย่างเหมาะสม ด้วยการจัดการองค์กรควรมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เพื่อการ ทางานที่มุ่งไปสู้จุดมุ่งหมายเดียวกัน ๒) พัฒนากระบวนการในการสร้างชุดกิจกรรมร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการขับเคลื่อน สี่แยกอินโดจีน ทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และวิชาการ หลังจากที่ได้ เสวนาระดมความคิดเห็นแล้ว มีความเห็นตรงกันว่าทุกภาคส่วนต้องทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ มี การแบ่งข้อมูลซึ่งกันและกัน มีการประชุมวางแผนการทางาน ติดตามผลงานและรายงานผลอย่างเป็น ประจา ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด ต้องให้ความช่วยเหลือผู้ ได้รับผลกระทบจากโครงการอย่างเต็มที่ ส่งเสริมการรวมตัวของคนในชุมชนทากิจกรรมเพื่อรับฟัง ปัญหาของชุมชน โดยการเปิดพื้นที่สาธารณะในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ข ๓) ถอดบทเรียนในการสร้างชุดกิจกรรมในการพัฒนาเชิงพื้นที่สี่แยกอินโดจีน ในการ วิเคราะห์ยุทธศาสตร์และแนวโน้มการพัฒนาเชิงพื้นที่สี่แยกอินโดจีน จังหวัดพิษณุโลกเป็นถือเป็นเมือง ใหญ่แห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างเป็นศูนย์กลางของศูนย์ราชการ ศูนย์กลางโลจิสติกส์ และโครงข่ายการคมนาคมขนส่ง มีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย เมืองน่าอยู่และปลอดภัย จึงทาให้ จังหวัดพิษณุโลกเป็นเมืองที่ชุมชนมีความเข้มแข็งยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม มีความสะดวกสบาย และปลอดภัยในการดาเนินชีวิต ระบบการตลาดของสินค้าผักและผลไม้ ในปัจจุบันนี้ยังไม่มี ประสิทธิภาพดีพอ ทั้งนี้สาเหตุส่วนหนึ่งอาจมาจากการที่ผักและผลไม้เป็นสินค้าที่เน่าเสียได้ง่าย ความ สดไม่ การพัฒนามิใช่เพียงสนใจถึงความเติบโตของเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ต้องคานึงถึง ของสังคม คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ความสมดุลของ สิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยา่ลัย | en_US |
dc.subject | ยุทธศาสตร์, | en_US |
dc.subject | การพัฒนาเชิงพื้นที่ | en_US |
dc.subject | สี่แยกอินโดจีน | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์องค์ประกอบและการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่ สี่แยกอินโดจีนแบบบูรณาการ | en_US |
dc.title.alternative | An Analysis and Strategy development in spatial intersection Indochina integration | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-308พระครูรัตนสุตาภรณ์, ดร..pdf | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.