Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/334
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบุญเลิศ, นเรศร์-
dc.date.accessioned2022-03-16T08:24:03Z-
dc.date.available2022-03-16T08:24:03Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/334-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการส่งเสริมความรู้สุขภาพของผู้สูงอายุตามแนวภูมิ ปัญญาล้านนาของผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงราย และเพื่อเปรียบเทียบสภาพปัญหาของผู้สูงอายุในการอยู่ ร่วมในสังคมอย่างมีคุณภาพที่มีความแตกต่างกันด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และรายได้ ของครอบครัวต่อเดือน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง โดยการจับฉลาก จานวน ๓๐๐ คน จากจานวนผู้สูงอายุทั้งหมด ๒,๖๒๘ คน การเก็บข้อมูลใช้เครื่องมือในการวิจัยเป็น แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ปัญหาของสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงรายซึ่งประกอบด้วย ปัญหาสุขภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ สถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ๑. ผู้สูงอายุมีความแตกต่างกันทางด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และรายได้ของ ครอบครัวต่อเดือน ส่วนสุขภาพทางความสามารถในการดูแลตนเองและจิตใจไม่มีความแตกต่างกัน ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพกายและจิตใจโดยรวม เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพกาย เป็นประจาหรือสม่าเสมอ ได้แก่ ได้รับอุบัติเหตุจากการเคลื่อนไหว ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะ ปวดหัวเข่า เคลื่อนไหวลาบาก อ่อนเพลีย เมื่อยล้าตามกล้ามเนื้อ ส่วนทางด้านปัญหาสุขภาพจิตเป็น ประจาหรือสม่าเสมอ ได้แก่ พฤติกรรมมักเอาใจตัวเอง การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ หงุดหงิดง่าย และ ไม่อยากเข้าร่วมกิจกรรมกับสังคม ตามลาดับ ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเพศ หญิงมีมากกว่าผู้สูงอายุชาย ส่วนผู้สูงอายุที่มีสถานภาพสมรสจะมีปัญหามากกว่าผู้ที่มีสถานภาพโสด ความแตกต่างระดับการศึกษาจะทาให้มีปัญหาสุขภาพกายและจิตใจที่มีความแตกต่างกัน และผู้สูงอายุ มีรายรับต่ากว่ารายจ่ายจะมีปัญหาสุขภาพกายและจิตใจมากกว่าผู้สูงอายุที่มีรายได้สูงกว่ารายจ่าย ๒. ผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพตามภูมิปัญหาล้านนาจะมีสุขภาวะดีขึ้นและจิตใจอยู่ใน ระดับมากด้านอารมณ์ดีขึ้นเมื่อรักษาศีล ๕ รู้สึกตนเองไม่ได้ถูกทอดทิ้ง เป็นผู้สืบทอดพระพุทธศาสนา ก ๓. รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเชิงปัญญาล้านนาจะต้องให้วัดมีส่วนร่วมในการส่งเสริม จริยธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา โดยยึดหลักธรรม การมีส่วนร่วม พึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน บทบาทในการเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะเครือข่ายระดับภาคและระดับสากล ๔. ผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งเสริมจากภูมิปัญญาล้านนามีแนวโน้มที่จะมีสุขภาพที่ดีขึ้นและ สุขภาพจิตของพวกเขาจะอยู่ในระดับที่สูงขึ้นถ้าพวกเขาสังเกตเห็นศีลห้า นอกจากนี้พวกเขารู้สึกว่า พวกเขาไม่ได้ถูกทิ้งไว้คนเดียวและความเป็นอยู่ของผู้มีพระคุณ พุทธศาสนา ๕. เกี่ยวกับรูปแบบที่จะส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสุขภาพโดยใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านล้านนาวัดควรจะ รวมอยู่ในการเข้าร่วมกิจกรรมทางจริยธรรมตามคาสอนทางพุทธศาสนาเช่น ธรรมภาคปฏิบัติ การมี ส่วนร่วม,ความเชื่อมั่นอย่างยั่งยืนควบคู่ไปกับบทบาทในการเข้าร่วมกิจกรรมของประชาชนทั้งใน เครือข่ายภูมิภาคและระหว่างประเทศ .en_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการส่งเสริมความรู้สุขภาพen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectภูมิปัญญาล้านนาen_US
dc.titleการส่งเสริมความรู้สุขภาพของผู้สูงอายุตามแนวภูมิปัญญาล้านนาen_US
dc.title.alternativeThe Health Knowledge Promotion of the Elderly in line with the Lanna Folk Wisdomen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2558-038นายสราวุฒิ งาหอม.pdf3.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.