Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/331
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สติสมฺปนฺโน, พระมหาสมศักดิ์, | - |
dc.contributor.author | แสนคำ, ธีระวัฒน์, | - |
dc.contributor.author | เทนอิสสระ, สุกาญดา, | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-16T08:16:46Z | - |
dc.date.available | 2022-03-16T08:16:46Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/331 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่อง “การจัดการเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดเลย” มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทและหน้าที่ในการสร้างองค์ความรู้ของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดเลย เพื่อศึกษาการ จัดการเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดเลย และเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเครือข่าย พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชนในจังหวัดเลย ผู้วิจัยได้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative) ที่ใช้เทคนิควิเคราะห์เอกสาร (Documentary Analysis) เทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และเทคนิคการสนทนากลุ่มเฉพาะ (Focus Group Discussion) แล้วทาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการพรรณาและการบรรยาย ดังนี้ จากการศึกษาพบว่า พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดเลยจานวน ๑๕ แห่ง ได้มีบทบาทและ หน้าที่ของพิพิธภัณฑ์ คือ การสื่อความเข้าใจในเอกลักษณ์และความรู้สึกผูกพันว่าเป็นของสถานที่หรือ สังคมนั้น ๆ ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงมากมายทางวัฒนธรรมซึ่งมักจะก่อให้เกิดความเจ็บปวดใน ความรู้สึก พิพิธภัณฑสถานสามารถเสริมสร้างความรู้สึกที่ดีและมีคุณค่าในการเชื่อมต่อระหว่างอดีตกับ ปัจจุบัน บทบาทของพิพิธภัณฑ์ต่อสังคมในมุมกว้าง รวมถึงประโยชน์ที่จะพึงมีต่อชุมชนที่พิพิธภัณฑ์ ตั้งอยู่ที่สาคัญมี ๓ ประการ คือ ๑. บทบาททางสังคมและวัฒนธรรม บทบาททางเศรษฐกิจ และ บทบาททางการเมือง การบริหารจัดการเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดเลย อาศัยความร่วมมือจากทุก ภาคส่วนมีส่วนเกี่ยวข้อง จึงทาให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นขึ้น ซึ่งมี กระบวนการทางานเพื่อสร้างเครือข่ายตามขึ้นตอนดังต่อไปนี้ ๑. กระบวนการสร้างเครือข่าย พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดเลย ประกอบด้วย ขั้นตอนการประสานงานผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ขั้นตอน การประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และขั้นตอนการคัดเลือกคณะทางานเครือข่ายชุมชน ๒. การจัดการ เครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดเลย ประกอบด้วย ตั้งคณะทางานเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นใน จังหวัดเลย การกาหนดบทบาทหน้าที่ของคณะทางานเครือข่าย และ ๓. แนวทางการทางานของ เครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดเลย ประกอบด้วย การกาหนดนโยบายการทางานของเครือข่าย การกาหนดพันธกิจ การทางานของเครือข่าย การกาหนดกิจกรรมของเครือข่าย และการ ประสานงานของเครือข่าย ความสัมพันธ์ของเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชนในจังหวัดเลย พบว่า ใน ปัจจุบันเครือข่ายถือว่ามีความสาคัญต่อการบริหารจัดการ เพราะเครือข่ายเป็นการเชื่อมประสานกัน อย่างเป็นระบบ ในลักษณะของการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ทาให้เกิดการรวมพลัง จนสามารถดารง ตัวเองอยู่ได้ในปัจจุบัน และพัฒนาไปสู่อนาคตได้อย่างไม่มีสิ้นสุด จึงสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของ เครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกับการพัฒนาชุมชน ดังนี้ ๑. การพัฒนาด้านกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ๒. การพัฒนาด้านการประชาสัมพันธ์ ๓. การพัฒนาด้านของที่ระลึกและสิ่งอานวยความสะดวก และ ๔. การพัฒนาด้านการบริการนาชมพิพิธภัณฑ์ | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การจัดการ | en_US |
dc.subject | เครือข่าย | en_US |
dc.subject | พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น | en_US |
dc.subject | จังหวัดเลย | en_US |
dc.title | การจัดการเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดเลย | en_US |
dc.title.alternative | Network management of the local museum in Loei province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-132พระมหาสมศักดิ์ สติสมฺปนฺโน.pdf | 11.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.