Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/326
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิตตานุรักษ์, พงศ์พัฒน์-
dc.date.accessioned2022-03-16T08:09:32Z-
dc.date.available2022-03-16T08:09:32Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/326-
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง ตัวชี้วัดสุจริตธรรมการปฏิบัติงานที่ปลอดการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไทย: กรณีศึกษาเทศบาลตาบลบ้านกลาง จังหวัดลาพูน มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การปฏิบัติขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลดีเด่นระดับประเทศด้านการป้องกันการทุจริต และสังเคราะห์ตัวชี้วัด สุจริตธรรมการปฏิบัติงานที่ปลอดการทุจริตจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลดีเด่น ระดับประเทศด้านการป้องกันการทุจริต ใช้วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหาร เทศบาลตาบลบ้านกลาง อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน และเอกสารการบริหารเทศบาล เครื่องมือที่ใช้คือแบบ สัมภาษณ์ และแนวคาถามการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา ข้อค้นพบหลักคือ ตัวชี้วัดสุจริตธรรมการปฏิบัติงานที่ปลอดการทุจริตขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบ รวม ๑๒ ตัวชี้วัด แต่ละองค์ประกอบประกอบด้วย ๔ ตัวชี้วัด ๑. สุจริตธรรมการปฏิบัติงานที่ปลอดการทุจริตทางกาย ประกอบด้วย ๑) ตัวชี้วัดความรับผิดชอบ ทางกาย ประกอบด้วย ๓ ตัวชี้วัดย่อย (๑) ตัวชี้วัดย่อยการปฏิบัติงานที่มีความรับผิดชอบต่อตนเอง (๒) ตัวชี้วัดย่อยการปฏิบัติงานที่มีความรับผิดชอบต่อประชาชนผู้รับบริการ (๓) ตัวชี้วัดย่อยการปฏิบัติงานที่มี ความรับผิดชอบต่องาน ๒) ตัวชี้วัดความซื่อสัตย์ทางกาย ๓) ตัวชี้วัดความยุติธรรมทางกาย และ ๔) ตัวชี้วัด ความขยันหมั่นเพียรทางกาย ๒. สุจริตธรรมการปฏิบัติงานที่ปลอดการทุจริตทางวาจา ประกอบด้วย ๑) ตัวชี้วัดความรับผิดชอบ ทางวาจา ประกอบด้วย ๓ ตัวชี้วัดย่อย (๑) ตัวชี้วัดย่อยการปฏิบัติงานที่มีความรับผิดชอบต่อตนเอง (๒) ตัวชี้วัดย่อยการปฏิบัติงานที่มีความรับผิดชอบต่อประชาชนผู้รับบริการ (๓) ตัวชี้วัดย่อยการปฏิบัติงานที่มี ความรับผิดชอบต่องาน ๒) ตัวชี้วัดความซื่อสัตย์ทางวาจา ๓) ตัวชี้วัดความยุติธรรมทางวาจา และ ๔) ตัวชี้วัดความขยันหมั่นเพียรทางวาจา ๓. สุจริตธรรมการปฏิบัติงานที่ปลอดการทุจริตทางใจ ประกอบด้วย ๑) ตัวชี้วัดความรับผิดชอบ ทางใจ ประกอบด้วย ๓ ตัวชี้วัดย่อย (๑) ตัวชี้วัดย่อยการปฏิบัติงานที่มีความรับผิดชอบต่อตนเอง (๒) ตัวชี้วัดย่อยการปฏิบัติงานที่มีความรับผิดชอบต่อประชาชนผู้รับบริการ (๓) ตัวชี้วัดย่อยการปฏิบัติงานที่มี ข ความรับผิดชอบต่องาน ๒) ตัวชี้วัดความซื่อสัตย์ทางใจ ๓) ตัวชี้วัดความยุติธรรมทางใจ และ ๔) ตัวชี้วัด ความขยันหมั่นเพียรทางใจ ตัวชี้วัดสุจริตธรรมการปฏิบัติงานที่ปลอดการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นข้อค้นพบ สามารถนาไปใช้ในการประเมินการปฏิบัติงานที่ปลอดการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับ เทศบาลตาบลen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectตัวชี้วัดสุจริตธรรมen_US
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยen_US
dc.subjectเทศบาลตาบลบ้านกลาง จังหวัดลำพูนen_US
dc.titleตัวชี้วัดสุจริตธรรมการปฏิบัติงานที่ปลอดการทุจริตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย : กรณีศึกษาเทศบาลตาบลบ้านกลาง จังหวัดลาพูนen_US
dc.title.alternativeTHE INDICATORS OF GOOD CONDUCT PRINCIPLE OF WORK WITHOUT CORRUPTION IN THAI LOCAL GOVERNMENT ORGANIZATION : A CASE STUDY FOR BANN KLANG MUNICIPLE LAMPHUN PROVINCEen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-257ผศ.ดร.พงศ์พัฒน์ จิตตานุรักษ.pdf4.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.