Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/325
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระครูวิมลศิลปกิจ, (เรืองฤทธิ์ แก้วเปียง)-
dc.contributor.authorเครือน้อย, พระอธิการสมชาติ-
dc.contributor.authorณ พิกุล, ศุภกร-
dc.contributor.authorกันทะสัก, อมลณัฐ-
dc.date.accessioned2022-03-16T08:08:16Z-
dc.date.available2022-03-16T08:08:16Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/325-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นศิลปะลวดลาย เวียงกาหลง เพื่อพัฒนาศิลปะลวดลายเวียงกาหลงมาสร้างสรรค์งานศิลป์บนวัสดุที่หลากหลาย และเพื่อส่งเสริมแหล่งเรียนรู้อาชีพลายเวียงกาหลงแก่สถานศึกษาและชุมชน เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ จึงดาเนินการวิจัยแบบผสมผสาน ประชากรเป็นกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสาคัญ 30 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสังเกตแบบมีส่วนร่วม และแบบบันทึกการประชุมกลุ่มย่อย และแบบประเมินผลก่อนและหลังการอบรม ผลการศึกษาวิจัยพบว่า พื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นศิลปะลวดลายเวียงกาหลง ในภาพรวม พบว่า มีศิลปะลวดลายเวียงกาหลง 4 กลุ่มใหญ่ๆ มากกว่า 50 ลาย มีกลุ่มที่อนุรักษ์ลายดั้งเดิมโดยการลอกเลียนแบบให้ใกล้เคียงของจริงมากที่สุด 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มเครื่องเคลือบดินเผาเวียงกาหลง โดยทัน ธิจิตตัง เป็นประธานกลุ่ม (2) กลุ่มเครื่องเคลือบโบราณเวียงกาหลง โดยศรี ลืมเนตร และ (3) กลุ่มเมืองโบราณพิพิธภัณฑ์เวียงกาหลง โดยวัดยอดขุนพล หรือวัดเวียงกาหลง (ธ) ซึ่งทั้ง 3 กลุ่มเน้นการอนุรักษ์ศิลปะลวดลายดั้งเดิมเอาไว้ พอสรุปศิลปะลวดลายที่ทั้ง 3 กลุ่มอนุรักษ์ มี 3 ประเภท ได้แก่ ศิลปะลวดลายและรูปแบบเวียงกาหลง การเคลือบเครื่องปั้นดินเผา และการผลิตงานนูนต่าและลอยตัว โดยสามารถนาศิลปะลายเวียงกาหลงเหล่านั้นมาพัฒนาสร้างสรรค์ให้เป็นศิลปะบนวัสดุอื่นๆ ได้อย่างหลากลาย เช่น ร่ม ย่ามพระสงฆ์ เสื้อผ้า กระดาษฉากประดับ ผ้าฉากประดับ เป็นต้น และนาไปส่งเสริมแหล่งเรียนรู้อาชีพลายเวียงกาหลงแก่สถานศึกษาและชุมชนได้อย่างน้อย 7 แบบ ได้แก่ ศิลปะดอกบัวบาน ศิลปะปลาคู่สาราญธารา ศิลปะบัวบูชาพระพุทธองค์ ศิลปะกิเลนดงน้อมกายา ศิลปะไก่ฟ้าพญาไพร ศิลปะพญาหงส์ใหญ่รวมพลกา และศิลปะลายนานาในบัวตูมen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectลายเวียงกาหลงen_US
dc.subjectนวัตกรรมศิลปะen_US
dc.subjectเวียงกาหลงen_US
dc.titleงานศิลป์พิมพ์ลายเวียงกาหลงบนวัสดุที่หลากหลาย : นวัตกรรมศิลปะเวียงกาหลงen_US
dc.title.alternativeprinting on various materials: the Wiang Kalong Innovation Arten_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.