Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/321
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสวาสดิ์รัตน์, ณรัฐ-
dc.date.accessioned2022-03-16T06:41:12Z-
dc.date.available2022-03-16T06:41:12Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/321-
dc.description.abstractการวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์ ๔ ประการคือ ๑. เพื่อศึกษาอารยธรรมและความเชื่อมโยง พระพุทธศาสนาด้านภาษาและวรรณกรรมของคนไทยในภูมิภาคลุ่มน้าโขง ๒. เพื่อศึกษาอารยธรรม และความเชื่อมโยงพระพุทธศาสนาด้านความเชื่อและพิธีกรรมของคนไทยในภูมิภาคลุ่มน้าโขง ๓. เพื่อ ศึกษาอารยธรรมและความเชื่อมโยงพระพุทธศาสนาด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ของคนไทยในภูมิภาคลุ่มน้าโขง ๔. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์เส้นทางอารยธรรมและความเชื่อมโยงทาง พระพุทธศาสนาในวิถีชีวิตของคนไทยแถบลุ่มแม่น้าโขง การวิจัยครั งนี เป็นการวิจัยแบบผสมผสานใช้ ทั งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ในเชิงคุณภาพ ศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลส้าคัญ ที่เป็นพระภิกษุสงฆ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้น้าชุมชน และพระภิกษุจ้านวน ๒๑ รูป/คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบอุปนัย ในเชิงปริมาณเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ๔๐๐ คน จากประชากร ๘ อ้าเภอ ที่อยู่ริมฝั่งแม่น้าโขง โดยวิเคราะห์ด้วยพรรณนาและสถิติอนุมาน ผลการวิจัยพบว่า ๑. ด้านภาษาและวรรณกรรม พบว่าการศึกษาภาษาธรรมในท้องถิ่นต่างๆตลอดลุ่มแม่น้าโขง ตอนกลางมีอยู่น้อยมากและมีแนวโน้มจะหมดไป แต่พระสงฆ์ก็ยังการศึกษาภาษาบาลีเพื่อที่จะศึกษา พระธรรมค้าสอน ในด้านวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาและวรรณกรรมพื นบ้าน พระภิกษุสงฆ์ยัง น้ามาเทศนาสั่งสอนอยู่บ้าง แต่วรรณกรรมเหล่านี มักน้ามาสู่สังคมโดยการแสดงมหรสพพื นบ้าน ๒. ด้านความเชื่อและพิธีกรรม พบว่าคนในลุ่มน้าโขงมีความเชื่อมั่นศรัทธาในพระพุทธศาสนา สูงมาก โดยจะแสดงออกโดยการประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนาแม้ว่าจะมีความเชื่อที่เกี่ยวกับเทวดา อารักษ์ ผีบรรพบุรุษ ผีปู่ตา ปะปนอยู่ด้วยก็ตาม ความเชื่อนี ก็มักจะมีพระพุทธศาสนาเข้าไปสอดแทรก อยู่ด้วยเสมอ ในด้านพิธีกรรมนั นคนในลุ่มแม่น้าโขงมีความคิดเห็นแตกต่างกันไปบ้างตามท้องถิ่น ๓. ด้านขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม พบว่าด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนา เป็นหลักท้าให้เกิดพิธีกรรมที่ท้าต่อๆ กันมาจนกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยิ่งใหญ่ เพราะถือ ว่าจะได้กุศลมาก นอกจากขนบธรรมเนียมประเพณีทางพระพุทธศาสนาแล้ว ประชาชนในแถบลุ่ม แม่น้าโขงตอนกลางยังมีความเชื่อทางไสยศาสตร์ที่มีอยู่ในพื นที่มาแต่โบราณ ในปัจจุบันเยาวชนรับเอา วัฒนธรรมการตะวันตกมาใช้และไม่ให้ความส้าคัญกับวัฒนธรรมดั่งเดิมมากนัก ข ๔. เส้นทางอารยธรรมและความเชื่อมโยงทางพระพุทธศาสนาในวิถีชีวิตของคนไทยแถบลุ่ม แม่น้าโขง พบว่า พระพุทธศาสนาทั งหินยานและมหายานเข้ามาสู่ลุ่มแม่น้าโขงตอนกลางหลายเส้นทาง ด้วยการอุปถัมภ์จากกษัตริย์ของอาณาจักรต่างๆ พร้อมทั งการน้าเอาวัฒนธรรมด้านต่างๆ เข้ามาด้วย แต่เดิมคนในภูมิภาคนี นับถือภูตผีอยู่ก่อนแล้ว ประชาชนจึงน้าเอาพระพุทธศาสนาไปผสมผสานกับ ประเพณี พิธีกรรม ที่เคยนับถืออยู่ ท้าให้พระพุทธศาสนาในภูมิภาคนี มีลักษณะผูกพันอยู่กับความเชื่อ ดั งเดิมอยู่มากen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectภูมิศาสตร์วัฒนธรรมen_US
dc.subjectเส้นทางอารยธรรมen_US
dc.subjectการเชื่อมโยงพระพุทธศาสนาen_US
dc.subjectลุ่มน้าโขงen_US
dc.titleภูมิศาสตร์วัฒนธรรม : เส้นทางอารยธรรมและการเชื่อมโยงพระพุทธศาสนา ในภูมิภาคลุ่มน้าโขงen_US
dc.title.alternativeCultural geography : The path of civilization in connection with Buddhism in Mekong basinen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-019พลตรี ดร. ณรัฐ สวาสดิ์รัตน์.pdf4.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.