Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระครูสุธีสุตสุนทร, (สมพงษ์ พอกพูน)-
dc.contributor.authorอินทร์ไชย, สมหวัง-
dc.contributor.authorฐานันดร, จำเริญ-
dc.contributor.authorสิทธิวิเศษ, สหัทยา-
dc.contributor.authorอุทยานุกูล, ปฏิพันธ์,-
dc.contributor.authorสาแก้ว, อานุรักษ์-
dc.date.accessioned2022-03-16T06:32:49Z-
dc.date.available2022-03-16T06:32:49Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/318-
dc.description.abstractานวิจัยเรื่องการบริหารจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรมเวียงกาหลงโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีชุมชน มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อจัดทาแผนที่ทางวัฒนธรรมในเขตพื้นที่ทางวัฒนธรรมเวียงกาหลง อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย สร้างพื้นที่ทางวัฒนธรรมสาหรับการอนุรักษ์ และนาไปสู่การสร้างผู้ประกอบการทางวัฒนธรรมในเขตพื้นที่ทางวัฒนธรรมเวียงกาหลง อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย และเพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานการศึกษากับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตพื้นที่ทางวัฒนธรรมเวียงกาหลง อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย สาหรับการพัฒนาเชิงพื้นที่อย่างยั่งยืนผ่านศิลปะและวัฒนธรรมของชุมชน เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mix method) ทั้งเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) การวิจัยในเชิงเอกสาร (Documentary Research) และการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มีผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key-Informant) ที่เป็นตัวแทนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ กลุ่มศิลปะเวียงกาหลง ผู้บริการสถานศึกษา ผู้นาชุมชน ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน นักประวัติศาสตร์ ปราชญ์ท้องถิ่น ผู้นาทางศาสนา นักท่องเที่ยว ชาวบ้าน เยาวชน และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ผลวิจัย พบว่า การจัดทาแผนที่ทางวัฒนธรรมเวียงกาหลง เป็นแผนที่พื้นที่ที่เป็นศิลปะและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับ ๓ กลุ่มใหญ่ ๆ คือ (๑) กลุ่มแหล่งโบราณสถานและพุทธศิลปกรรม (๒) กลุ่มธรรมชาติสร้างสรรค์ และ (๓) กลุ่มประกอบการนิทรรศการแสดงศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย และของฝาก เวียงกาหลง และนาไปสู่การสร้างผู้ประกอบการทางวัฒนธรรมเพื่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ส่งเสริมทั้งที่เป็นการอนุรักษ์ศิลปะเวียงกาหลงดั้งเดิมและศิลปะเวียงกาหลงร่วมสมัย และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือสาหรับการพัฒนาเชิงพื้นที่อย่างยั่งยืนผ่านศิลปะและวัฒนธรรมของชุมชนกับหน่วยงาน องค์กร ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารจัดการen_US
dc.subjectพื้นที่ทางวัฒนธรรมen_US
dc.subjectเวียงกาหลงen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมen_US
dc.subjectภาคีชุมชนen_US
dc.titleการบริหารจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรมเวียงกาหลงโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ของภาคีชุมชนen_US
dc.title.alternativeThe Cultural Management in Wiang Ka Long Area in the Local Community by Participatory Action Researchen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.