Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/314
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเจริญกุศล, ธาดา-
dc.contributor.authorกิตติวณฺโณ, พระครูสังฆ์รักษ์บุญเสริม-
dc.contributor.authorคนฺธาโร, พระครูธรรมธรบงกช-
dc.contributor.authorดาจุติ, ดร.กาญจนา-
dc.contributor.authorปานเกตุ, ชุมพล-
dc.contributor.authorจันทร์จารัส, ธีรวัฒน์-
dc.date.accessioned2022-03-16T06:23:10Z-
dc.date.available2022-03-16T06:23:10Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/314-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสถานภาพและศักยภาพการบริหารจัดการ ของเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชนของการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนในจังหวัดแพร่ ๒) เพื่อศึกษา รูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชนที่มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับบริบท ของพื้นที่เพื่อการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนในจังหวัดแพร่ ๓) เพื่อนาเสนอการพัฒนาการบริหารจัดการ เครือข่ายแบบมีส่วนร่วมของกองทุนสวัสดิการชุมชนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน องค์กร และภาคีหนุนเสริมต่างๆ ในจังหวัดแพร่ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจาก คณะกรรมการและสมาชิกกองทุนสวัสดิการชุมชนในเขตพื้นที่จังหวัดแพร่ จานวน ๑๗ คน และทำการ สนทนากลุ่มเฉพาะ จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จานวน ๑๗ รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการพรรณนาความ ผลการวิจัยพบว่า ๑. สถานภาพและศักยภาพการบริหารจัดการของเครือข่ายกองทุน สวัสดิการชุมชนในจังหวัดแพร่ มีการบริหารจัดการในรูปของคณะกรรมการ มีข้อระเบียบหรือ ข้อบังคับของกองทุนฯที่ชัดเจน ๒. รูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชนใน จังหวัดแพร่ นั้นมีการกำหนดเป้าหมายของกองทุน บริหารงานโดยคณะกรรมการการบริหารการจัด กองทุน มีโครงสร้างขององค์กร และการกำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ มีแผนงานและการ สนับสนุนการดำเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐ พร้อมทั้งมีการนาความรู้ของคนในพื้นที่มาใช้ประโยชน์ ในการสร้างรายได้ให้มีเงินออม ๓. การพัฒนาการบริหารจัดการเครือข่ายแบบมีส่วนร่วมของกองทุน สวัสดิการชุมชนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน องค์กร และภาคีหนุนเสริมต่างๆ ใน จังหวัดแพร่ ประกอบด้วยสามด้านคือ หนึ่ง ด้านการจัดองค์กรและการบริหาร กองทุนสวัสดิการ ชุมชนควรมีการกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจให้สอดคล้องกับบริบทและสวัสดิการของกองทุนพร้อม ทั้งมีการถ่ายทอดให้สมาชิกรับรู้นโยบาย แผนงานโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ สองด้านการ ให้บริการ มีรูปแบบการให้บริการที่สอดคล้องกับ นโยบายและการให้สวัสดิการของกองทุนโดยมีการ กำหนดวิธีการหรือขั้นตอนการให้บริการเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างครบถ้วนพร้อมทั้งส่งเสริมให้บุคคล ครอบครัวชุมชนเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการและมีการทบทวนหรือปรับปรุงกระบวนการ บริการอย่างน้อยปีละครั้งสามด้านคุณภาพการให้บริการ มีการกำหนดวันและเวลาในการให้บริการ พร้อมทั้งการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายen_US
dc.subjectกองทุนสวัสดิการชุมชนen_US
dc.subjectการพึ่งตนเองอย่างยั่งยืนในจังหวัดแพร่en_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชนของการพึ่งตนเองอย่างยั่งยืนในจังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativeThe Administrative Model Development of Community Wealth Fair Found Networks of Sustainable Self-Reliance in Phrae Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-155 ดร.ธาดา เจริญกุศล.pdf5.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.