Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/313
Title: | นวัตกรรมการใช้ประโยชน์ของสมุนไพรกับการสร้างความเข้มแข็งชุมชน |
Other Titles: | Innovative Use of Herbs to Strengthen the Community |
Authors: | บุญเลิศ, นเรศร์ |
Keywords: | นวัตกรรม สมุนไพร การสร้างความเข้มแข็ง ชุมชน |
Issue Date: | 2561 |
Publisher: | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
Abstract: | วิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ เรื่องนวัตกรรมการใช้ประโยชน์ของสมุนไพรกับการสร้างความเข้มแข็งชุมชน องค์ความรู้ที่เป็นผลการจัดการความรู้ในระดับชุมชนด้านการศึกษาเชิงสารวจ ข้อมูลและวิธีการใช้ประโยชน์ของสมุนไพรอย่างถูกต้องเหมาะสม การจัดการความรู้เพื่อใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นโดยชุมชนมีส่วนร่วมเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสมุนไพร ในการพัฒนาแบบผสมผสานแหล่งความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งความรู้ใหม่ที่สาคัญที่นาไปสู่กระบวนการสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง โดยใช้วิธีการศึกษาผสมผสานทั้งการสารวจ ศึกษาเอกสาร ศึกษาแผนพัฒนาตาบล โดยการสนทนากลุ่มกับองค์การบริหารส่วนตาบลยางฮอมและการสัมภาษณ์ จากกลุ่มสมาชิกสภาหมอเมืองล้านนาเชียงราย(ผู้ผลิต) จานวน ๑๐ คน ผู้นาท้องถิ่น จานวน ๔ คน ประชาชนที่ใช้ประโยชน์ของสมุนไพร จานวน ๒๐ คน โดยใช้วิธีการเจาะจงตามการศึกษาวิจัย นาข้อมูลมาวิเคราะห์ใน ๒ ประเด็นที่ศึกษา ผลการวิจัยพบว่า การศึกษากระบวนการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้ประโยชน์ของสมุนไพรเพื่อสุขภาพสร้างความเข้มแข็งชุมชน ซึ่งเป็นต้นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากสภาพองค์ความรู้ของสมุนไพรปัจจุบันด้านการใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์แผนไทยไม่มีการสืบทอด ส่งผลให้พืชสมุนไพรในชุมชนไม่ได้นามาใช้กับวิถีชีวิตของคนชุมชนความหลากหลายของวัฒนธรรมของชุมชน ตลอดจนวิถีชีวิต ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีการอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมอย่างเหมาะสมกับสภาพของชุมชน การเรียนรู้วิถีชุมชน การพัฒนาสมุนไพรเพื่อสุขภาพสร้างความเข้มแข็งชุมชนเชิงพาณิชย์จึงเกิดขึ้นได้ยาก การจัดกิจกรรมฟื้นฟูในระดับชุมชนจึงไม่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนในการพึ่งพาตนเอง |
URI: | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/313 |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2561-140 นเรศร์ บุญเลิศ.pdf | 2.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.