Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/307
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ทองทิพย์, ทวีศักดิ์ | - |
dc.contributor.author | พระครูศรี, สุนทรสรกิจ | - |
dc.contributor.author | ฐานวโร, สมบัติ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-16T06:10:43Z | - |
dc.date.available | 2022-03-16T06:10:43Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/307 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เส้นทางการท่องเที่ยว ทางศาสนาและวัฒนธรรม และผลกระทบของการท่องเทียวทางศาสนาและวัฒนธรรมในอีสานใต้ วิธีดาเนินการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร สังเกต สัมภาษณ์ และสนทนากลุ่มย่อย วิเคราะห์ ข้อมูลแบบพรรณนา ผลการวิจัยมีข้อค้นพบดังนี้ ๑. ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอีสานใต้ คาว่าอีสานใต้หมายถึงจังหวัดในพื้นที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย มีน้ามูลไหลผ่าน ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้และทิศ ตะวันออกติดเทือกเขาฎองเร็กและประเทศกัมพูชา ในดินแดนนี้เคยมีกลุ่มคนอาศัยอยู่มานานไม่น้อย กว่า ๓,๐๐๐ - ๔,๐๐๐ ปี ก่อนเกิดอาณาจักรขอมและสุโขทัย เห็นได้จากภาพเขียนยุคก่อน ประวัติศาสตร์ที่ถ้าวัดเขาจันทร์งาม อาเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา หรือภาพเขียนที่อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี วัฒนธรรมสาคัญอีสานใต้เกิดจากคน ๔ กลุ่ม คือ เขมร กูย ลาว และไทยโคราช แต่ละกลุ่มมีวัฒนธรรม ภาษาพูด เป็นของตนเอง คือ ภาษาเขมร กูย ลาว และไทยโคราช มีวิถีชีวิตเรียบง่าย อนุรักษ์ภาษา วัฒนธรรม ของตนไว้ได้อย่างดี ๒. เส้นทางการท่องเที่ยวทางศาสนาและวัฒนธรรมในอีสานใต้ เลือกมาเป็นตัวอย่างใน การวิจัยมี ๘ แห่ง อยู่ใน ๕ จังหวัด ๑) จังหวัดนครราชสีมา คือ อุทยานมหาวิหารหรือมูลนิธิสมเด็จ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) และอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ๒) จังหวัดบุรีรัมย์ คือ อุทยาน ประวัติศาสตร์พนมรุ้ง และปราสาทเมืองต่า ๓) จังหวัดสุรินทร์ คือ วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร และ วัดป่าอาเจียง(สุสานช้าง) ๔) จังหวัดศรีสะเกษ คือ วัดไพรพัฒนา(หลวงปู่สรวง) ๕) จังหวัด อุบลราชธานี คือ วัดสิรินธรวนารามภูพร้าว ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของ นักท่องเที่ยวทั่วไป มีความเชื่อมโยงกับศาสนาและวัฒนธรรม ด้านศาสนา มีกิจกรรม ท่องเที่ยว เชื่อมโยงกับองค์ประกอบศาสนา คือ พระพุทธรูปหรือรูปเคารพ ศาสนธรรม ศาสนบุคคล ศาสนสถาน และศาสนพิธีกรรม ด้านวัฒนธรรม มีกิจกรรมท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับประเภทวัฒนธรรม คือ วัตถุธรรม วัฒนธรรมทางวัตถุ คติธรรม วัฒนธรรมเป็นหลักการดาเนินชีวิต เนติธรรม วัฒนธรรมเกี่ยวกับ กฎหมาย และ สหธรรม วัฒนธรรมมารยาททางสังคม ๓. ผลกระทบของการท่องเที่ยวทางศาสนาและวัฒนธรรมในอีสานใต้ พฤติกรรม นักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวทางศาสนาและวัฒนธรรม ก่อให้เกิดผลกระทบด้านบวกมาก ที่สุด มีค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับร้อยละ ๙๘.๐๔ คือ ๑) สภาพทั่วไปด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานพื้นฐาน ห้องน้า มีความพอเพียง สะอาด ปลอดภัย น้าอุปโภคบริโภคพอเพียง ระบบโทรคมนาคมใช้การได้ดี ระบบไฟฟ้าเข้าถึงใช้การได้ดี มีทางเข้าถึงสะดวกปลอดภัย ๒) สภาพทั่วไปด้านสิ่งปลูกสร้าง วางผังสิ่ง ปลูกสร้างเป็นระเบียบ ทรัพยากรการท่องเที่ยวสวยงาม ๓) สภาพทั่วไปด้านสถานที่และ สภาพแวดล้อม มีการบริหารจัดการของเสียดี อาคารสถานที่สะอาดปลอดภัย มีบริเวณนั่งพักผ่อน ได้รับบริการดีจากเจ้าหน้าที่ ๔) พฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่มีต่อศาสนา มีความเคารพพระพุทธรูปหรือ รูปเคารพ ศาสนธรรม ศาสนบุคคล ศาสนสถาน และศาสนพิธีกรรม ๕) พฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่มีต่อ วัฒนธรรม วัตถุธรรม ใช้สอยปัจจัยสี่อย่างถูกต้อง คติธรรม ปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดีงาม เนติธรรม ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อห้าม สหธรรม ปฏิบัติตามมารยาทของสังคม | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ประวัติศาสตร์ | en_US |
dc.subject | เส้นทางการท่องเทียว | en_US |
dc.subject | ศาสนาและวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | อีสานใต้ | en_US |
dc.title | การศึกษาประวัติศาสตร์และเส้นทางการท่องเที่ยวทางศาสนาและวัฒนธรรม ในอีสานใต้ | en_US |
dc.title.alternative | A Study of History and Routes of Religious and Cultural Tourism in the South East Region | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-199 ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ ทองทิพย์.pdf | 4.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.