Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/276
Title: การพัฒนาศักยภาพและโอกาสทางการศึกษาของเยาวชน บนพื้นที่ราบสูงในจังหวัดตาก
Other Titles: The Develop their Potential and opportunities to Learn of the youth on the high plains in tak Province
Authors: จกฺกวโร, พระมหาจักรพันธ์
จุฑาคุปต์, วีระ
ทาปิน, อำนาจ
Keywords: การพัฒนาศักยภาพ
โอกาสทางการศึกษา
เยาวชนบนพื้นที่ราบสูง
จังหวัดตาก
Issue Date: 2560
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยเรื่อง การพัฒนาศักยภาพและโอกาสทางการศึกษาของเยาวชนบนพื้นที่ราบสูงใน จังหวัดตากมีวัตถุประสงค์ ๓ ข้อ คือ ๑) เพื่อศึกษาโอกาสทางการศึกษาของเยาวชนบนพื้นที่ราบสูงใน จังหวัดตาก ๒) เพื่อพัฒนาศักยภาพทางการศึกษาของเยาวชนบทพื้นที่ราบสูงในจังหวัดตาก ๓) เพื่อ เสนอแนวทางการพัฒนาทางการศึกษาของเยาวชนบนพื้นที่ราบสูงในจังหวัดตาก ซึ่งผู้วิจัยใช้รูปแบบ การวิจัยแบบผสมผสาน โดยกาหนดกลุ่มเป้าหมายดังนี้ กลุ่มเป้าหมายเชิงประมาณ คือกลุ่มเยาวชนที่ อาศัยอยู่ใน ๕ อาเภอ คือ อาเภอ วังเจ้า อาเภอแม่สอด อาเภอแม่ระมาด อาเภอ ท่าสองยาง และ อาเภอพบพระ ของจังหวัดตาก จานวน ๒๕๐ คนโดยใช้ตารางการเปรียบเทียบของเครจซี่และมอร์ แกน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้แบบสัมภาษณ์โดยการ workshpo เป็นกลุ่ม และสัมภาษณ์เยาวชน กลุ่มตัวอย่างเพื่อสร้างแกนนา จานวน ๔๕ คนโดยแบ่งกลุ่มดังนี้ คือ กลุ่มการจัดการศึกษา ๕คน กลุ่ม นักสังคมสงเคราะห์ และสังคมวิทยา จานวน ๕ คน กลุ่มจิตวิทยา จานวน ๕ คนและกลุ่มนักกฎหมาย จานวน ๕ คน และเยาวชนอีกจานวน ๒๕ คนใน ๕ อาเภอ ผลการวิจัยพบว่าผลการวิเคราะห์ การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มโอกาสกับเยาวชนบนพื้นที่ ราบสูง ทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านการสร้างแหล่งเรียนรู้ ด้านการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา ด้านการแนะแนว ทางการประกอบอาชีพ และด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแสดงด้วยค่าเฉลี่ยและค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มโอกาสกับเยาวชนบนพื้นที่ราบสูง โดยภาพรวม อยู่ในระดับ ปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ (  = ๓.๐๖) เมื่อจาแนกเป็นรายด้าน ๑) ด้านการสร้างแหล่งเรียนรู้การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มโอกาสกับเยาวชนบนพื้นที่ราบ สูง ในด้านการสร้างแหล่งเรียนรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ (  = ๓.๒๕) ๒) ด้านการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มโอกาสกับเยาวชนบน พื้นที่ราบสูง ใน โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ (  = ๓.๐๙) ๓) ด้านการแนะแนวทางการประกอบอาชีพพบว่า การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มโอกาส กับเยาวชนบนพื้นที่ราบสูง ในด้านการแนะแนวทางการประกอบอาชีพโดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปาน กลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ (  = ๓.๐๔) เมื่อจาแนกเป็นรายข้อ พบว่า การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มโอกาส กับเยาวชนบนพื้นที่ราบสูงมีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยปานกลาง ข ๔) ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนพบว่า การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มโอกาส กับเยาวชนบนพื้นที่ราบสูง ในด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปาน กลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ (  = ๒.๘๗) ผลการวิจัย พบว่าการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาเยาวชนบนพื้นที่ราบสูงสามารถสรุปเป็น ประเด็นได้๔ ข้อคือ ๑) ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์ โดยให้มหาวิทยาลัยที่อยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาที่มี โรงเรียนศึกษา สงเคราะห์หรือราชประชานุเคราะห์ตั้งอยู่ ร่วมกันแจ้งข่าวสารไปยังสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา หน่วยงาน ภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตาบล เพื่อให้เกิดในการมีส่วนร่วมในการคัดกรอง เยาวชนส่งเข้าศึกษาต่อใน ๒) ควรขยายโอกาสทางการศึกษาในระดับท้องถิ่น และลดภาระค่าใช้จ่ายใน การศึกษาต่อของ นักเรียน ๓) ควรเพิ่มบทบาทและให้ความสาคัญครูแนะแนวซึ่งมีความสาคัญกับ นักเรียนมาก โดยครูแนะ แนวควรชี้แนะวิเคราะห์พฤติกรรมนักเรียน ให้ความรู้ด้านการศึกษาได้ แลกเปลี่ยนทัศนคติเรื่องความสาคัญของการศึกษาโดยเน้นเรื่องสิทธิการเข้าถึงสิทธิและโอกาสของ นักเรียนทุกคน ๔) ควรมีกิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพหลายด้าน ได้แก่ การศึกษาสิทธิเด็ก สิทธิ มนุษยชนเป็นการสร้างองค์ความรู้ มีการประสานงานกับโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษา หน่วยงานการปกครองส่วนท้องถิ่น ผลการวิจัยพบว่าการพัฒนาศักยภาพสาหรับเยาวชนบนพื้นที่ราบสูงซึ่งสามารถสรุปเป็น ประเด็นได้ ๑๐ ข้อคือ ๑) ต้องปรับปรุงพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามมาตรฐานที่ กาหนดไว้และจะต้องสร้างความพึงพอใจของผู้ปกครอง ชุมชน และสังคม ๒) ควรมีการจัดสรร งบประมาณให้คานึงถึงความเสมอภาค และความเหมาะสมตามความต้องการจาเป็นพิเศษของนักเรียน และสถานศึกษา ๓) การพัฒนาคุณภาพการศึกษาต้องสร้างความรับผิดชอบร่วมกันของภาคสังคมทุก ระดับนับตั้งแต่ ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้กาหนดนโยบาย และสถานศึกษาที่ส่งผลต่อผู้เรียนโดยตรง ๔) ส่งเสริมการปฏิรูปการศึกษา ทั้งในด้านคุณภาพครู หลักสูตร และการใช้เทคโนโลยีด้านการศึกษาในทุก ระดับและทุกประเภทของการศึกษา ๕) สร้างนวัตกรรมและสังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างโอกาส การเรียนรู้ให้คนทุกกลุ่มทุกวัย ควบคู่กับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในทุกประเภท รวมทั้งส่งเสริมการรัก การอ่าน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น ๖) ควรส่งเสริมให้เกิดจริยธรรม ตระหนักในสิทธิ หน้าที่ ความเสมอภาค การทาประโยชน์ต่อสังคม และการสร้างจิตสานึกที่ดีผ่านกระบวนการอบรม เยาวชนที่เหมาะสมกับวัย ๗) ส่งเสริมการยกฐานะครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง สนับสนุนการผลิตและ พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาในสาขาที่ขาดแคลน และจัดให้มีครูเพียงพอในทุก ห้องเรียนและศูนย์การเรียนรู้ ๘) สร้างจิตสานึกของสังคมและชุมชนให้มองเห็น เข้าใจ และมีส่วนร่วม ทางการศึกษา มีกิจกรรมและกระบวนการเพื่อส่งเสริมและสร้างจิตสานึกของชุมชนให้มีความ รับผิดชอบต่อการศึกษาในด้านต่าง ๙) สร้างการมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่ โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ผู้ปกครอง ชุมชน โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน เพื่อเข้า มาร่วมกาหนดรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาทั้งเรื่องหลักสูตร การเรียนการสอน และการประเมินผล ๑๐) ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายทั้งในและนอกสถานศึกษาและเน้นการมีส่วนร่วมการทางานอย่างเป็น หนึ่งเดียวเตรียมครูให้เป็นผู้นาในวิชาชีพของตนอย่างแท้จริง โดยให้ครูได้ออกแบบการพัฒนาตนเอง นาสู่การปฏิบัติ และประเมินความก้าวหน้าในวิชาชีพของตนเองได้
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/276
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2560-319พระมหาจักรพันธ์ จกฺกวโร.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.