Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/264
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พระครูโกศลศาสนวงศ์ | - |
dc.contributor.author | ฐิติญาโณ, พระพรสวรรค์ | - |
dc.contributor.author | แสงมาศ, พระวรากรณ์ | - |
dc.contributor.author | ศรีทา, พระณัฐพงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-15T09:28:20Z | - |
dc.date.available | 2022-03-15T09:28:20Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/264 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำตาม แนวเทือกเขาพนมดงรักในจังหวัดศรีสะเกษ และ (๒) เพื่อวิเคราะห์การส่งเสริมศักยภาพของเครือข่าย ประชาชนในการบริหารจัดการน้ำตามแนวเทือกเขาพนมดงรักในจังหวัดศรีสะเกษ การวิจัยครั้งนี้เป็น การวิจัยเชิงเอกสารและคุณภาพ โดยศึกษาจากเอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสนทนา กลุ่มจากกลุ่มเป้าหมาย นำผลการสนทนามาวิเคราะห์และเขียนรายงานการวิจัยด้วยวิธีเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาศักยภาพจะเน้นที่การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายให้ สามารถบริหารจัดการได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมศักยภาพอันนำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน อย่าง มั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน โดยวิธีบริหารจัดการทรัพยากรน้ำชุมชนในพื้นที่มีหลายวิธี เช่น ขุดลอก หนอง บึง หรือแหล่งน้ำอื่นภายในชุมชน เพื่อเพิ่มปริมาณการกับเก็บน้ำ การช่วยลดน้ำหลากจัดทำ พื้นที่แก้มลิง หรือพัฒนาพื้นที่ลุ่มเพื่อกักเก็บนำ เพื่อพัฒนาพื้นที่เป็นพื้นที่กักเก็บน้ำหลากและสำรองน้ำ ใช้เวลาหน้าแล้ง มีการจัดทำระบบนํ้าในพื้นที่ เช่น ประตูระบายน้ำ ทางส่งน้ำจากอ่างเก็บนํ้าห้วยตาจู การบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ป่าต้นน้ำ สร้างป่าเปียก สร้างภูเขาป่า สร้างฝายขนาดเล็ก ซึ่งมีความ จำเป็นต้องฟื้นฟูและรักษาสภาพความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ต้นน้ำที่เสมือนอ่างเก็บน้ำตามธรรมชาติที่ คอยตรวจปล่อยน้ำให้ไหลลงสู่แม่น้ำลำธาร หล่อเลี้ยงสัตว์เพื่อชีวิตอย่างสม่ำเสมอตลอดทั้งปี แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าในระหว่างองค์กร ชุมชนจะต้องมีการกำหนดเป้าหมาย ทิศทาง และการจัดทำแผนบูรณาการการทำงานร่วมกันเพื่อการ จัดการทรัพยากรน้ำ โดยหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องเข้ามาส่งเสริมสนับสนุนการทำแผน และน้ำแผนที่ จัดทำขึ้นเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับภารกิจไปกำหนดเป็นแผนงานของหน่วยงาน มีการสร้างความชัดเจนใน บทบาทภารกิจขององค์กรต่างๆ บนเป้าหมายการท้างานร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง ความซ้ำซ้อน การสนับสนุนและเสริมงานซึ่งกันละกัน ในส่วนของชุมชนควรให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมอยู่ใน คณะกรรมการหรือคณะทำงานในโครงการที่เกี่ยวข้องกับชุมชน เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วน ร่วมในโครงการ การพัฒนาแหล่งน้ำ โดยภูมิปัญญาชาวบ้านต้องเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ให้ชุมชน ตระหนักถึงคุณค่าและเห็นโทษของผลกระทบที่มีน้ำมากเกินไป น้ำเสียจากมลภาวะ และนำแห้งแล้งไม่่ เพียงพอกับการอุปโภคและบริโภค | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การส่งเสริมศักยภาพ | en_US |
dc.subject | เครือข่ายประชาชน การบริหารจัดการน้ำ | en_US |
dc.subject | เทือกเขาพนมดงรัก | en_US |
dc.subject | จังหวัดศรีสะเกษ | en_US |
dc.title | การส่งเสริมศักยภาพของเครือข่ายประชาชนในการบริหารจัดการน้ำตามแนวเทือกเขา พนมดงรักในจังหวัดศรีสะเกษ | en_US |
dc.title.alternative | The boosting the capacity of the public network in the management of water along the line Phanom Dong Rak mountain range in Si Sa Ket | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2561-044พระครูโกศลศาสนวงศ์.pdf | 2.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.