Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/253
Title: การบูรณาการภูมิปัญญาพระพุทธศาสนากับการสร้างความสมดุลใน ระบบนิเวศวิทยาชุมชน
Other Titles: An Integration of Buddhist Wisdom with the Creation of Balance in Community Ecosystem
Authors: ศรีทอง, โกนิฏฐ์
Keywords: การบูรณาการ
ภูมิปัญญาพระพุทธศาสนา
ความสมดุล
ระบบนิเวศวิทยาชุมชน
Issue Date: 2558
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครัง้ น้มี ีความวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษากระบวนการจัดการระบบนิเวศ วิทยาชุมชน ตามแนวพระพุทธศาสนาของพระสงฆ์และชุมชนในสังคมไทย (2) เพื่อบูรณา การภูมิปัญญาพระพุทธศาสนากับการเสริม สร้างความสมดุลในระบบนิเวศวิทยาชุมชนของ พระสงฆ์และชุมชนในสังคมไทยและ (3) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงระบบ นิเวศวิทยาชุมชนตามหลักนิเวศวิทยาวัฒนธรรมเชิงพุทธ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ พระสงฆ์ที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว ระหว่างปี 2546-2555 จา นวนทัง้ หมด 19 รูป 18 จังหวัด และผู้นาชุมชนและประชาชนในพื้นที่ของพระสงฆ์ ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว ประกอบด้วย ผู้นาชุมชน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาองค์กรปกครองท้องถนิ่ ประชาชนพื้นที่ เจ้าหน้าที่ภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง รวมพื้นที่ละ 10-15 ราย วิจัยนี้ใช้วิธีวิจัยเชิง คุณภาพ (Qualitative Research) ใช้วิธีการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนรว่ ม ใช้แบบสัมภาษณ์ เชิงลึกและการประชุมกลุ่มย่อย กับผู้นาชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ชาวบ้าน วิเคราะห์ด้วย เทคนิคการวิเคราะห์เน้อื หา (Content analysis) ผลการศึกษาวิจัย พบว่า 1. กระบวนการจัดการระบบนิเวศวิทยาชุมชนของพระสงฆ์ ที่ได้รับรางวัลลูกโลกสี เขียว คือ 1) เมื่อเกิดไฟไหม้ป่ า เกิดการป้องกันไม่ให้ไฟไหม้ป่ า (ตามภูมิปัญญา) 2) สร้าง จิตสา นึก ปลูกจิตอาสา การมีส่วนรว่ มรักพื้นที่ป่ าของตนตามหลักพุทธธรรม 3) ถางป่ าเป็น แนวกันไฟแบบเปียกเพื่อให้เกิดความชุ่มชื้น 4) ปลูกต้นไม้โตเร็วคุมแนวกันไฟ 5) ป้องกัน การเข้ามาของนายทุน 6) ป้องกันและเฝ้าระวังการตัดไม้ 7) ผลที่ได้รับคือ การอนุรักษ์ป่าไม้ อย่างยัง่ ยืน ทัง้ 7 ข้อ คือบันได 7 ขัน้ แห่งความสา เร็จของกระบวนการสร้างความสมดุลใน ระบบนิเวศวิทยาชุมชนของพระสงฆ์ 2. การบูรณาการภูมิปัญญาพระพุทธศาสนากับการเสริมสร้างความสมดุลในระบบ นิเวศวิทยาชุมชนกค็ ือ การสร้างจิตสา นักให้ชาวบ้านได้เข้าใจ เข้าถึงและพัฒนา ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้วยหลักธรรมที่ถูกแฝงอยู่ในหลักธรรมคา สอนของพุทธศาสนา ที่พระสงฆ์นามาใช้การประยุกต์กับระบบนิเวศวิทยาชุมชน คือ 2.1 หลักไตรลักษณ์ หมายถึง คา สอนของพระพุทธเจ้าอันว่าด้วยลักษณะ 3 อย่างที่มีทัว่ ไปแก่สรรพสงิ่ คือ 1. อนิจจตา ความเป็นอนิจจัง ความไม่เที่ยง ความเปลี่ยน แปลงป่า 2. ทุกขตา ความเป็นทุกข์หรือความทุกข์ คือสงิ่ ที่ทนได้ยากและ 3. อนัตตา คือ ความไม่ใช่และไม่มีสงิ่ ที่เรียกว่า "อัตตา" ดังนั้นการอนุรักษ์สงิ่ แวดล้อมตามหลักพระพุทธ ศาสนา จะต้องเข้าใจความเป็นจริงตามหลักไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ถือว่าเป็น ตัวสภาวธรรมของธรรมชาติ 2.2 อริยสัจ 4 อันประกอบด้วย ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค มีรายละเอียดดังนี้คือ 1. ทุกข์ คือ ภาวะบีบคัน้ ที่ชาวบ้านได้รับจากการเห็นป่ าถูกทา ลาย หรือการลักลอบตัดไม้ของ กลุ่มนายทุน 2. สมุทัย คือ สาเหตุของทุกข์ คือความอยากที่ไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษย์ ที่ผ่านมา มนุษย์นาเอาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาสนองความต้องการ 3. นิโรธ การสิ้นสุดของ ปัญหา เป็นที่ยอมรับว่า ปัญหาต่างๆ นั้นนั้นแก้ได้ยาก 4. มรรคมีองค์แปด คือทางดับทุกข์ถ้า จะแก้ปัญหาน้อี ย่างยัง่ ยืน 2.3 หลักไตรสิกขา คือ หลักการพัฒนาชีวิตเพื่อให้ประสบความสาเร็จเป็นคน สมบูรณ์แบบตามแนวพุทธ ไตรสิกขา คือ หลักการพัฒนาชีวิตเพื่อให้ประสบความสา เร็จเป็น คนสมบูรณ์แบบตามแนวพุทธ 2.4 หลักพรหมวิหาร 4 หมายถึง หลักคา สัง่ สอนทางพระพุทธศาสนาที่มีจุดมุ่ง หมายในการสอนให้บุคคลมีความรักความเมตตาต่อผู้อื่น มีความสงสารเห็นใจและพร้อมที่จะ ช่วยเหลือบุคคลอื่นรู้สึกพลอยยินดีเมื่อบุคคลอื่นได้ดี 2.5 ความกตัญญู คือ ความรู้และการยอมรับรู้ในบุญคุณของบุคคล สัตว์ สงิ่ ของ และธรรมชาติสงิ่ แวดล้อม ที่มีต่อตัวเราทัง้ ทางตรงและทางอ้อม 2.6 ปฏิจจสมุปบาท สงิ่ ทัง้ หลายไม่ว่าจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตอาศัยกันและกันจึง เกิดมีขึ้น 3. ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศวิทยาชุมชนตามหลักนิเวศวิทยา วัฒนธรรมเชิงพุทธ พบว่า พระพุทธศาสนาได้มองสรรพสงิ่ เป็นองค์รวม เชื่อมโยงอิงอาศัยกัน และกันตามระบบธรรมชาติ ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ เช่น สงิ่ มีชีวิตใหม่ เกิดขึ้น เกิดชุมชนใหม่ มีการเปลี่ยนแปลงสภาพ แวดล้อมทางกายภาพ ซึ่งจะทาให้เกิดการ เปลี่ยนชนิดของสงิ่ มีชีวิตอื่นๆ ในชุมชนแห่งนั้นไปด้วย
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/253
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2558 สกอ.-ผศ.ดร.โกนิฏฐ์ ศรีทอง.pdf10.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.