Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/252
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorผาสุโก, พระครูสมุห์รวิทย์-
dc.contributor.authorพระปิฎกโกศล-
dc.contributor.authorพระสุนทรกิจโกศล-
dc.contributor.authorพระครูสมุทรวชิรานุวัตร-
dc.contributor.authorญาณวิปุโล, พระปลัดไพบูลย์-
dc.date.accessioned2022-03-15T08:51:05Z-
dc.date.available2022-03-15T08:51:05Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/252-
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง “กายภาพบาบัดเชิงพุทธ : รูปแบบและวิธีการบาบัดด้วยธรรมโอสถ” มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ความรู้ด้านกายภาพบาบัดเชิงพุทธ เพื่อประยุกต์ใช้กระบวนการ กายภาพบาบัดเชิงพุทธด้วยธรรมโอสถ และเพื่อเสนอรูปแบบการประยุกต์ใช้กระบวนการ กายภาพบาบัดเชิงพุทธด้วยธรรมโอสถ ผลจากการวิจัยพบว่า องค์ความรู้ด้านกายภาพบาบัดเชิงพุทธ เป็นการรักษาทางกายและ ทางจิตใจไปพร้อมกัน มีการประยุกต์หลายวิธี การกากับเภสัชหลักการฉันอาหารและการใช้ยา สมุนไพรบาบัด ส่วนวัดช้างเผือก วัดลาดเป้ง และวัดท่าโขลง ให้การรักษาสุขภาพตามหลักทาง พระพุทธศาสนา โดยเน้นทั้งทางกายและจิตใจ มีหลักการคือ ทางกาย เป็นผู้ที่เข้าใจสมุฎฐานโรค รู้ยา สามารถจัดปรุงยาตามอาการของผู้ป่วย แนะนาการฉันหรือการรับประทานอาหารให้ถูกกับโรค และ การใช้สมุนไพรบาบัดได้ถูกต้อง ทางจิตใจ ให้คาปรึกษาแนะนาด้วยการเจริญสมาธิ-ภาวนา แผ่เมตตา สวดมนต์ และการรักษาศีล ๕ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยมีจิตใจร่าเริง แจ่มใส สามารถชี้แจงอาการไข้ให้เห็น ชัดเจนตลอดจนทาให้ผู้ป่วยมีความเชื่อมั่นในการรักษา ทราบในสิ่งที่ควรและไม่ควรปฏิบัติสาหรับ ผู้ป่วย มีจิตใจเมตตา มีจิตอาสา ไม่รังเกียจผู้ป่วย และไม่เห็นแก่อามิสสินจ้างรางวัล ผลการดาเนินการ รักษาสุขภาพในพระไตรปิฎกมีผลทาให้ร่างกายแข็งแรงจิตใจผ่องใสบริสุทธิ์ทางด้านพระธรรมวินัยได้ ยึดหลักปฏิบัติตามพระวินัย ด้านสังคมทาให้เกิดความผาสุกในสังคม ส่วนผลดาเนินการรักษาสุขภาพ ของวัดช้างเผือก วัดลาดเป้ง และวัดท่าโขลง ทาให้ร่างกายของผู้ป่วยแข็งแรงเป็นปกติจิตใจสบาย คลายความกังวล ด้านพระธรรมวินัยผู้เข้ารับการรักษาปฏิบัติตามระเบียบในการรักษาของตนเอง ประกอบกับการปฏิบัติเจริญสติ รักษาศีล ๕ ด้านสังคมทาให้มีความสุขในครอบครัวและชุมชน ประยุกต์ใช้กระบวนการกายภาพบาบัดเชิงพุทธด้วยธรรมโอสถ การรักษาด้วยธรรมโอสถ ก็เป็นอีกทางหนึ่งในการรักษาโรค นอกเหนือจากการรักษาด้วยยาสมุนไพรที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาต เพื่อระงับความทุกข์ที่เกิดจากการเจ็บป่วย โดยการใช้รักษาโรคควบคู่กันไปจนถึงปัจจุบัน ทาให้รู้ถึง แนวทางการใช้ยาสมุนไพรที่มีปรากฏในครั้งพุทธกาลและได้รู้ถึงวิธีการรักษาโดยการใช้ยาสมุนไพรเพื่อ รักษาโรคทางกาย การรักษาโรคทางใจโดยการใช้สมาธิบาบัด หรือด้วยการเจริญสติปัฏฐาน พัฒนาสติ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจาวัน รูปแบบการประยุกต์ใช้กระบวนการกายภาพบาบัดเชิงพุทธด้วยธรรมโอสถ ตามแนวของ วัดช้างเผือก วัดลาดเป้ง และวัดท่าโขลง ผลของการดาเนินงานในการรักษาสุขภาพ การรักษาโรคของ วัดช้างเผือก วัดลาดเป้ง และวัดท่าโขลง มีขั้นตอนการใช้สมุนไพร การสอบถามคนป่วยเกี่ยวกับ สุขภาพที่ต้องการบาบัด การปรุงยาขึ้นอยู่กับลักษณะของโรค และวิธีการใช้สมุนไพรบาบัดมีทั้งรมควัน อบ ต้มอาบ ต้มดื่ม และใช้ทาภายนอก ผลการดาเนินงานในการรักษาสุขภาพกลุ่มที่กาลังรักษา ส่วนมากอาการดีขึ้นจากก่อนที่ยังไม่มารักษาและมีความมั่นใจสบายใจ เชื่อว่าต้องหายจากโรคที่ เป็นอยู่แน่นอนส่วนกลุ่มที่รักษาหายแล้วมีความเชื่อและศรัทธา ในวิธีการของวัดเพราะทาการรักษา ตาม ขั้นตอนจนทาให้ผู้ป่วยมีสุขภาพแข็งแรงทางานเลี้ยงชีพได้เป็นปกติ ทั้งนี้ก็เพราะแนวทางการ รักษาสุขภาพของวัดช้างเผือก วัดลาดเป้ง และวัดท่าโขลง ได้ยึดถือแนวปฏิบัติตามพระไตรปิฎก คือ ใช้ธรรมโอสถในการรักษาควบคู่ไปด้วยกันen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectกายภาพบำบัดเชิงพุทธen_US
dc.subjectรูปแบบและวิธีการบำบัดen_US
dc.subjectธรรมโอสถen_US
dc.titleกายภาพบาบัดเชิงพุทธ : รูปแบบและวิธีการบาบัดด้วยธรรมโอสถen_US
dc.title.alternativeBuddhist Physical therapy : Model and Practical Treatment with Dhamma Medicineen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-302 พระครูสมุห์วรวิทย์ ผาสุโก.pdf5.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.