Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/244
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นามเมือง, จักรแก้ว | - |
dc.contributor.author | วังฝายแก้ว, คนอง | - |
dc.contributor.author | พิทักษ์รัตนพงศ์, วุฒิกร | - |
dc.contributor.author | พึ่งศรัทธาธรรม, บุรพิมพ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-15T08:26:08Z | - |
dc.date.available | 2022-03-15T08:26:08Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/244 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยการเสริมสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมของกลุ่มอารยธรรม ๕ เชียง กับการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองในภูมิภาคลุ่มน้าโขง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะ กระบวนการ และเสนอแนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา วัฒนธรรม และการศึกษา ของพระสงฆ์และชุมชนในกลุ่มอารยธรรม ๕ เชียง กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส้าคัญ ได้แก่ พระสงฆ์ และผู้น้าชุมชนในกลุ่มอารยธรรม ๕ เชียง ได้แก่ ในประเทศไทย ประกอบด้วย จังหวัด เชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ และต่างประเทศ ประกอบด้วย เชียงตุง ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ เชียงรุ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และเชียงทอง ประเทศสาธารณรับประชาธิปไตย ประชาชนลาว ตัวแทนกลุ่มอารยธรรมละ ๑๐ รูป/คน รวม ๕๐ รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบ สัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้าง และบันทึกข้อตกลง (MOU.) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ และวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า ๑. ลักษณะการเสริมสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมของพระสงฆ์และชุมชน ในกลุ่มอารยธรรม ๕ เชียง กับการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองในภูมิภาคลุ่มน้าโขง ประกอบด้วย วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของเครือข่าย กลุ่มเครือข่าย กิจกรรมเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ระบบการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน องค์ประกอบเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม และ รูปแบบเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ๒. กระบวนการเสริมสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมของพระสงฆ์และ ชุมชน ในกลุ่มอารยธรรม ๕ เชียง กับการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองในภูมิภาคลุ่มน้าโขง มี กระบวนการด้าเนินงาน ๕ ขั้น ได้แก่ การศึกษาแนวทางการเสริมสร้างโดยการวิจัย การก่อตั้ง เครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม รวมทั่งการท้าข้อตกลง (MOU) การจัดระบบบริหารและการ จัดการเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม การด้าเนินกิจกรรมของเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม และการประเมินศักยภาพของเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ๓. แนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมของพระสงฆ์และ ชุมชน ในกลุ่มอารยธรรม ๕ เชียง กับการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองในภูมิภาคลุ่มน้าโขง ประกอบด้วย การด้าเนินงานเครือข่าย โดยมีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต พะเยา เป็นองค์กรหลักในการด้าเนินการก่อตั้งและประสานงาน เทคนิควิธีการในการจัดตั้งเครือข่าย การเรียนรู้ การด้าเนินงานอย่างเป็นกระบวนการ การด้าเนินกิจกรรมร่วมกัน การสร้างพันธะสัญญา และการระดมทรัพยากรมาใช้ได้อย่างเพียงพอ อย่างไรก็ตามเครือข่ายการเรียนรู้จะประสบ ความส้าเร็จได้ต้องประกอบไปด้วย องค์ประกอบ ๑๐ ประการ ตั้งแต่การมีแกนน้าสมาชิกที่เข้มแข็ง จนถึงมีระบบการติดตามและประเมินงานของเครือข่าย | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การเสริมสร้างเครือข่าย | en_US |
dc.subject | กลุ่มอารยธรรม ๕ เชียง | en_US |
dc.subject | ความเป็นพลเมืองในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง | en_US |
dc.title | การเสริมสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมของกลุ่มอารยธรรม ๕ เชียง กับการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองในภูมิภาคลุ่มน้าโขง | en_US |
dc.title.alternative | Strengthening a Network of cross – cultural Learning Civilization of 5 Chiang with Strenthening Citizenship in the Mekong Sub - Region | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2561-182 จักรแก้ว นามเมือง.pdf | 4.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.