Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/230
Title: การพัฒนาระบบ GPS เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ปราสาทโบราณจังหวัดสุรินทร์
Other Titles: The Development of GPS System For Cultural Tourism Promotion in Surin Province
Authors: แสงมาศ, กฤษนันท์
ศิริภาประภากร, ยโสธารา
ประทุมแก้ว, สุทัศน์
คลังฤทธิ์, สุริยา
อินทยุง, สาเริง
Keywords: การพัฒนำระบบจีพีเอส
ส่งเสริมกำรท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมปราสาท
จังหวัดสุรินทร์
Issue Date: 2561
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบ GPS เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมปราสาท โบราณจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1.ศึกษาประวัติความเป็นมาและบริบทพื้นที่แหล่ง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมปราสาทจังหวัดสุรินทร์ 2.ศึกษาสารสนเทศและระบบการเข้าถึงแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมปราสาทจังหวัดสุรินทร์ 3. เพื่อพัฒนาระบบ GPS แหล่งท่องเที่ยว อนุรักษ์วัฒนธรรมปราสาทจังหวัดสุรินทร์ จะได้นาเสนอดังต่อไปนี้ วิธีการดาเนินวิจัยแบบพรรณนา วิเคราะห์โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจาก เอกสาร รายงาน การวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีแบ บสัมภาษณ์ กลุ่มเป้าหมายและมีการเข้าสัมภาษณ์ประกอบ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ เจ้าหน้าที่การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย (พื้นที่จังหวัดสุรินทร์) ผู้นาชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ได้แก่ องค์การ บริหารส่วนตาบลแต่ละพื้นที่ รวมไปถึง พระสงฆ์ และผู้ประกอบการค้า ที่อาศัยโดยรอบปราสาทขอม โบราณจานวน 18 รูป/คน โดยวิธีเลือกกลุ่มตัวที่สามารถให้คาตอบที่เป็นประโยชน์ได้ ผลวิจัยพบว่า ข้อมูลทั่วไปขั้นพื้นฐานที่เป็นสิ่งอานวยความสะดวกตามปราสาทโบราณ สถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่การวิจัย มีสภาพที่เก่า ถูกการใช้งานมาหล ายปี สิ่งอานวย ความสะดวก ที่เป็นส่วนช่วยเสริมนักท่องเที่ยวเพื่อความเข้าใจ เข้าถึง แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ยังไม่มี ที่มีความหลากหลายที่สามารถเลือกศึกษาได้ แผ่นพับที่ปรากฏมีเพียง ปราสาทบ้านพลวง ตาบลบ้าน พลวง อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เท่านั้น ที่สามารถให้บริการได้ ก่อนเข้าเที่ยวชม พร้อมทั้ง เสียค่าบริการ จัดทาขึ้นโดยกรมศิลป์ นอกจากนั้นคือ ปราสาทภูมิโปน ตาบลดม อาเภอสังขะ จังหวัด สุรินทร์ ยังไม่มีการบริการแผ่นพับที่มีคุณภาพที่สามารถบอกพื้นที่ท่องเที่ยวเพิ่มเติมได้ และข้อมูลด้าน อื่นๆ น้อย ปราสาทบ้านไพล ตาบลเชื้อเพลิง อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ยังไม่มีการบริการแผ่น พับ และข้อมูลการเข้าถึงน้อยมากทั้งๆ ที่พื้นที่ดังกล่าวมีแหล่งท้องเที่ยวเพิ่มเติมในสถานที่ชุมชน มีฐานการเรียนรู้ และสามารถเสริมการท่องเที่ยวตามแบบวิถีชุมชนได้ส่วนมากเป็นข้อมูลที่ต้องเข้า ศึกษาดูในอินเตอร์เน็ตเสียส่วนให้ แต่ข้อมูลก็ไม่ครอบคลุมในด้านอื่นๆที่จาเป็น ปราสาทตาควาย ตาบลบักได อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ ถือเป็นปราสาทที่นักท่องเที่ยวต้องการเข้าเที่ยวชมเพราะมีความน่าสนใจ ทั้งแหล่งธรรมชาติที่สมบูรณ์ และอยู่ติดเขตแดนระหว่าง ราชอาณาจักรไท ย และราชอาณาจักรกัมพูชาสร้างความน่าสนใจมาก พื้นที่ได้รองรับทั้งสถานที่จอดรถ ห้องน้า ร้านอาหารเครื่องดื่ม และสามารถดูแลความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยวได้ สิ่งที่ขาดการนาเสนอในพื้นที่ นี้คือ แผ่นพับ ที่สามารถบอก ความเป็นมา การสร้าง งานประเพณีประจาปี การให้ความสาคัญของ ระหว่าง 2 ประเทศ และกิจกรรมอื่นๆที่สาคัญ ตลอดถึง เพิ่มเติมแหล่งท่องเที่ยวสาคัญที่อยู่แถบ บริเวณนั้นได้ จึงถือเป็นเรื่องที่น่าเสียด้ายเพื่อการดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามา เป็นต้น ความสาคัญของปราสาทขอมในพื้นที่การศึกษานี้ ถือเป็นพื้นที่ที่จะมีการพัฒนาในรูปแบบ การนาเสนอ การกระจายข้อมูลพื้นฐาน เพราะปราสาทขอมเป็นโบราณสถานในศาสนาพราหมณ์ ฮินดู ที่ถูกสร้างขึ้นและยังคงอยู่ให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมและถือเป็นสมบัติของชาติด้วย ในแต่ละ พื้นที่ควรให้ความสาคัญ และร่วมรักษา สืบทอดและจัดกิจกรรมทางศาสนาเพื่อเป็นจุดสนใจ แล ะ สร้างความโดดเด่นของพื้นที่ด้วย ดังนั้นจากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการค้า และ นักท่องเที่ยวบ้างกลุ่ม ได้ให้การสัมภาษณ์ โดยสรุปว่า แผ่นพับถือเป็นความสาคัญ เพื่อการเข้าถึง แหล่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน ที่จาเป็นและสาคัญมาก เมื่อมีการพัฒนาในรูปแบบเชิงการท่องเที่ยว และ ภาวการณ์พัฒนาชุมชนขั้นพื้นฐานเรียบร้อยแล้ว ก็สามารถนาเสนอข้อมูลเพิ่มเติมในอินเตอร์เน็ต เว็ป เอกสารอื่นๆ เพราะดึงดูดนักเที่ยวทั้งมรชุมชนเอง และนอกพื้นที่ให้เข้ามาเที่ยวได้ ดังนั้น แผ่นพับตาม พื้นที่การวิจัย 4 พื้นที่ จึงมีความจาเป็น และสาคัญมาก กระบวนการช่วยเสริมศักยภาพของชุมชน ที่มีต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดสุรินทร์ มีความสาคัญมากต่อการพัฒนาการ ท่องเที่ยว เช่น 1.ช่วยส่งเสริภูมิความรู้ในการสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ที่ได้จากปราสาทขอมตาม พื้นที่ 2.ช่วยส่งเสริม เพื่อพัฒนา เด็ก เยาวชน ผู้สนใจ ในการนาเสนอข้อมูล พื้นฐาน ที่เกี่ยวข้องกับ ปราสาท แหล่งท่องเที่ยว และอาหารที่สาคัญ ที่มีการจัดงานประจาปี 3.ภาครัฐ หรือ มหาวิทยาลัย คิดแนวทางช่วยส่งเสริม รักษา ดูแล ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านแต่ละที่และช่วยรักษา ส่งเสริมให้เป็นกิจ ลักษณ์พื้นจัดการแสดงในเวทีที่สาคัญเพื่อโปรโมท และร่วมกันรักษาสิ่งที่สามารถบอกเล่าถึง ตัวตน เอกลักษณ์ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างไว้ให้น่าสนใจตามพื้นที่ เป็นต้น ปัญหาของกระบวนการเสริมสร้าง ศักยภาพของชุมชน ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดสุรินทร์ พบว่า ยังขาดการ ร่วมมือจากหน่วยงาน องค์กรภาครัฐ และเอกชน ในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล และการช่วยเหลือ สนับสนุน และพัฒนา ร่วมทั้งชุมชนเองยังขาด การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยว และแหล่งเรียนรู้ เชิงวัฒนธรรมในท้องถิ่น เพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้อย่างหลากหลาย เป็นต้น
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/230
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-110 กฤษนันท์ แสงมาศ.pdf14.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.