Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/225
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระอุดมปิฎก-
dc.contributor.authorอาจารปาลี, ประกาศิต-
dc.contributor.authorมีนางัว, ศรีวิจิตรา-
dc.date.accessioned2022-03-14T14:52:56Z-
dc.date.available2022-03-14T14:52:56Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/225-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบและศักยภาพภูมิสารสนเทศศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวใน จังหวัดอุตรดิตถ์ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อการศึกษาสารวจแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดอุตรดิตถ์ ๒) เพื่อการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศศาสตร์เพื่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดอุตรดิตถ์ ๓) เพื่อการพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนของจังหวัดอุตรดิตถ์ ๔) เพื่อพัฒนาเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยรวบรวมเก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายในเขตพื้นที่ ๙ อาเภอ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พระภิกษุสงฆ์, เจ้าหน้าที่รัฐ, ผู้ประกอบการ และประชาชน จานวน ๓๖ รูป/คน และกลุ่มตัวอย่างในการทากิจกรรมกลุ่มเชิงปฏิบัติการ จานวน ๒๐ รูป/คน ผลการศึกษาวิจัย ดังนี้ ๑. การสารวจแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม พบว่า ภาครัฐควรเร่งพัฒนาส่งเสริมงานด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน และเป็นรูปธรรมมากกว่าเดิม โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ให้กับวัด ชุมชน และท้องถิ่นผู้รับผิดชอบ เพื่อที่จะสามารถพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของจังหวัดอุตรดิตถ์ในทุกทิศทาง เป็นแหล่งท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนและทุกฝ่ายจะได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวตรงนี้ต่อไปอย่างเท่าเทียมกัน และ ศักยภาพด้านการอนุรักษ์ การรักษาสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม ที่จะสามารถพัฒนา เป็นแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ คือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ใส่ใจและส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติ เพื่อให้คงความอุดมสมบูรณ์ทางวัฒนธรรมให้ยั่งยืนเอาไว้ดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยว แต่ทางผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่สนใจและต้องการให้มีการจัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม เพื่อเพิ่มศักยภาพให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ๒. การพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศศาสตร์เพื่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดอุตรดิตถ์ มีการนามาใช้ในการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวน้อยมาก การศึกษาวิจัยครั้งนี้ จึงเป็นการ พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และ Application ของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในวิธีพุทธของจังหวัดอุตรดิตถ์ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเป็นการบูรณาการที่ยั่งยืน ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อหลายกลุ่มที่มีความเกี่ยวข้องกันกับการท่องเที่ยว ได้แก่ วัด กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยว อาหาร ที่พักแรม ประชาชนในพื้นที่ และที่สาคัญที่สุดคือ นักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่เข้ามาสัมผัสวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่มีมากถึง ๓ วัฒนธรรม คือ วัฒนธรรมล้านนา วัฒนธรรมล้านช้าง และวัฒนธรรมสุโขทัย ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศจึงมีส่วนช่วยในการคานวณระยะทางในการเดินทาง และพิกัดสถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในแต่ละแห่ง ทาให้นักท่องเที่ยวสามารถคานวณระยะเวลาในการเดินทางได้ และช่วยในการประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยวควบคู่กันไปสามารถพัฒนาก่อให้เกิดความยั่งยืนได้en_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนาen_US
dc.subjectศักยภาพen_US
dc.subjectภูมิสารสนเทศศาสตร์en_US
dc.subjectการท่องเที่ยวen_US
dc.titleการพัฒนาระบบและศักยภาพภูมิสารสนเทศศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยว ในจังหวัดอุตรดิตถ์en_US
dc.title.alternativeDevelopment of Geo-Informatics System and Potential for Tourism in Uttaraditen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-158 พระอุดมปิฎก, ดร..pdf13.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.