Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/224
Title: นิเวศวิทยาเชิงพุทธกับแนวคิด คุณค่า และการเสริมสร้างการอนุรักษ์ป่าชุมชนใน จังหวัดขอนแก่น
Other Titles: Buddhist Ecology and Concepts Value and Strengthening the Community Forest Conservation in Khon Kaen Province
Authors: วงศ์พรพวัณ, จักรพรรณ
Keywords: นิเวศวิทยาเชิงพุทธ
การอนุรักษ์ป่าชุมชน
จังหวัดขอนแก่น
Issue Date: 2561
Publisher: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยเรื่อง นิเวศวิทยาเชิงพุทธกับแนวคิด คุณค่า และการเสริมสร้างการอนุรักษ์ป่าชุมขนในจังหวัดขอนแก่น มีวัตถุประสงค์ ๓ ข้อ คือ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดและคุณค่าของนิเวศวิทยาเชิงพุทธ ๒) เพื่อศึกษากระบวนการอนุรักษ์ป่าชุมชนในจังหวัดขอนแก่น ๓) เพื่อเสนอรูปแบบการเสริมสร้างการอนุรักษ์ป่าชุมชนตามหลักนิเวศวิทยาเชิงพุทธในจังหวัดขอนแก่น ผลการวิจัย พบว่า แนวคิดและคุณค่าของนิเวศวิทยาเชิงพุทธ พบว่า พุทธศาสนากับนิเวศวิทยามีความเกี่ยวข้องกันตรงที่ไม่ได้แบ่งแยกระหว่างสิ่งมีชีวิตและธรรมชาติออกจากกัน นิเวศวิทยาจะสอนให้มนุษย์รู้จักรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่วนพุทธศาสนาจะมุ่งสอนให้มนุษย์มีความเมตตาต่อธรรมชาติและให้ปฏิบัติต่อธรรมชาติเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตตน การทาลายธรรมชาติก็เหมือนกับการทาลายตนเอง เพราะจุดร่วมของมนุษย์กับธรรมชาติคือการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน นั่นคือการทาลายสิ่งหนึ่งย่อมมีผลต่อเนื่องไปถึงการคงอยู่ของสิ่งอื่น อย่างเช่น การทาลายป่าไม้ย่อมก่อให้เกิดผลเสียหายตามมา เช่น นาท่วม ดินถล่ม และการขาดแคลนแหล่งนาธรรมชาติ เป็นต้น การนาแนวคิดทางพุทธศาสนามาใช้กับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ จึงเป็นการรักษาระบบนิเวศวิทยาของป่าไม้ให้คงอยู่อย่างสมบูรณ์และยั่งยืน นี แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของพุทธศาสนาที่เอื อหนุนต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เพราะหลักธรรมและวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงและบัญญัติไว้แล้วนั น ล้วนเป็นสิ่งเกื อหนุนต่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นป่าไม้ ดิน นา และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ จะเห็นได้จากการเกิดขึ นของพุทธศาสนาในทุกองคาพยพล้วนเกิดในป่า หลักธรรมและวินัยก็ล้วนแสดงและบัญญัติในป่า หลักธรรมและวินัยเหล่านั นจึงเป็นไปเพื่อเอื อต่อการเกื อหนุนและเชื่อมโยงกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ทั งสิ น เมื่อสังคมมนุษย์เห็นคุณค่าของป่าไม้น้อยลง จึงพากันทาลายป่าไม้ด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ของพวกตน เมื่อจานวนป่าไม้ลดลง ภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดจากผลพ่วงของการทาลายป่าไม้ก็เกิดขึ นมากเท่าที่ป่าไม้ได้ถูกทาลายลงไป สิ่งที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติมากที่สุดคือมนุษย์และสิ่งมีชีวิตทั งหลาย ดังนั นการนาหลักธรรมทางพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาวิกฤติป่าไม้ในเชิงนิเวศนี จึงเป็นทางออกที่ดีที่สุดที่จะทาการฟื้นฟูหรืออนุรักษ์ป่าไม้ในส่วนที่ยังเหลืออยู่ให้คงอยู่คู่อยู่กับสังคมมนุษย์ต่อไป กระบวนการอนุรักษ์ป่าชุมชนในจังหวัดขอนแก่น พบว่า มีป่าชุมชน ๒ แห่ง ที่ได้รับการจัดตั งเป็นป่าชุมชนจากกรมป่าไม้แล้ว คือป่าชุมชนบ้านโคกสี และป่าชุมชนบ้านหัวบึง ส่วนป่าชุมชนบ้านกงกลาง เป็นป่าสาธารณประโยชน์ ยังไม่ได้ขึ นทะเบียนเป็นป่าชุมชน ดังนั นป่าชุมชนทั ง ๒ แห่งข้างต้น ได้รับการบริหารจัดการในฐานะเป็นป่าชุมชนอย่างเป็นกระบวนการ โดยชาวบ้านในชุมชน ร่วมกับเจ้าหน้าของรัฐได้บริหารจัดการพื นที่ป่าชุมชน โดยเริ่มตั งแต่การยื่นคาร้องขอจัดทาโครงการป่าชุมชน การตรวจสอบพื นที่ตามคาขออนุญาตจัดทาโครงการป่าชุมชน การจัดทาโครงร่างเสนอผ่านหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการอนุมัติจัดตั งให้เป็นป่าชุมชนจากกรมป่าไม้ ส่วนป่าชุมชนบ้านกงกลาง ได้รับการบริหารจัดการโดยชุมชน มีการแต่งตั งคณะกรรมการรับผิดชอบป่าชุมชนในแต่ละแผนก เช่น แผนกการบารุง และฟื้นฟูป่าชุมชน การใช้ประโยชน์จากป่าชุมชน เป็นต้น ผลการดาเนินการทาให้พื นที่ป่าชุมชนทั ง ๓ แห่งนั นได้รับการดูแลรักษาและฟื้นฟู จนมีสภาพที่ค่อนข้างจะเป็นป่าสมบูรณ์ใกล้เคียงกับป่าธรรมชาติดั งเดิม และสามารถสร้างผลผลิตกลับคืนให้กับชุมชนได้ รูปแบบการเสริมสร้างการอนุรักษ์ป่าชุมชนตามหลักนิเวศวิทยาเชิงพุทธในจังหวัดขอนแก่น พบว่า ป่าชุมชนทั ง ๓ แห่ง มีรูปแบบการสร้างเสริม ๓ ขั นตอนด้วยกัน คือ ขั นตอนที่ ๑ การสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักร่วมกันในการใช้ประโยชน์จากป่าชุมชนเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ขั นตอนที่ ๒ การพัฒนากิจกรรมในการอนุรักษ์ป่าชุมชนด้วยวิธีการต่างๆ และขั นตอนที่ ๓ เป็นการควบคุมกิจกรรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการอนุรักษ์ป่าชุมชนให้เกิดความยั่งยืน ซึ่งการดาเนินงานในแต่ละขั นตอนนี ชาวบ้านในแต่ละชุมชนได้มีการแต่งตั งคณะกรรมกรรมชุดต่างๆ เข้ามาดูแลรักษาป่าร่วมกัน เช่น คณะกรรมการฝ่ายดาเนินงาน คณะกรรมการฝ่ายปลูกป่าทดแทน คณะกรรมฝ่ายลาดตระเวน คณะกรรมการฝ่ายหาผลประโยชน์จากป่าชุมชน และคณะกรรมกรรมฝ่ายสนับสนุนกิจการป่าชุมชน เป็นต้น สิ่งที่เกื อหนุนให้ชาวบ้านมีความร่วมมือร่วมใจกันในการอนุรักษ์ป่าชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือการนาหลักธรรม เช่น ความกตัญญูกตเวที ความประมาณ และพิธีกรรมทางพุทธศาสนา เช่น การบวชป่า เป็นต้น มาประยุกต์ใช้ในการอนุรักษ์ป่า เพราะหลักธรรมและพิธีกรรมทางพุทธศาสนาได้ช่วยกล่อมเกลาจิตใจชาวบ้านให้มีความเอื อเฟื้อต่อกัน และที่สาคัญชาวบ้านได้เห็นคุณค่าของป่าไม้ จึงทาให้การอนุรักษ์ป่าชุมชนเป็นไปอย่างยั่งยืน และสืบต่อถึงคนรุ่นหลังได้อนุรักษ์กันต่อไป
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/224
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2561-073 จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ.pdf5.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.