Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระครูวิมลศิลปกิจ-
dc.date.accessioned2022-03-14T14:21:16Z-
dc.date.available2022-03-14T14:21:16Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/210-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ (๑) เพื่อพัฒนางานศิลป์พิมพ์ลายเวียงกาหลงบนวัสดุที่หลากหลาย (๒) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรมเวียงกาหลงโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีชุมชน และ (๓) เพื่อสร้างศูนย์การเรียนรู้ศิลปะเวียงกาหลงด้วยนวัตกรรมใหม่นาไปสู่เป้าหมายอาชีพที่ยั่งยืน เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ จึงดาเนินการวิจัยแบบผสมผสาน ประชากรเป็นกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสาคัญ ๓๐ รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสังเกตแบบมีส่วนร่วม และแบบบันทึกการประชุมกลุ่มย่อย และแบบประเมินผลก่อนและหลังการอบรม ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ในภาพรวม มีศิลปะลวดลายเวียงกาหลง ๔ กลุ่มใหญ่ๆ มากกว่า ๕๐ ลาย โดยสามารถนาศิลปะลายเวียงกาหลงเหล่านั้นมาพัฒนาสร้างสรรค์ให้เป็นศิลปะร่วมสมัยอย่างน้อย ๗ แบบ ได้แก่ ศิลปะดอกบัวบาน ศิลปะปลาคู่สาราญธารา ศิลปะบัวบูชาพระพุทธองค์ ศิลปะกิเลนดงน้อมกายา ศิลปะไก่ฟ้าพญาไพร ศิลปะพญาหงส์ใหญ่รวมพลกา และศิลปะลายนานาในบัวตูม แล้วนาไปลงบนวัสดุอื่นๆ ได้อย่างหลากลายที่นอกเหนือจากเครื่องปั้นดินเผา เช่น ร่ม ย่ามพระสงฆ์ เสื้อผ้า กระดาษฉากประดับ ผ้าฉากประดับ เป็นต้น โดยสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานการศึกษากับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตพื้นที่ทางวัฒนธรรมเวียงกาหลง อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย สาหรับการพัฒนาเชิงพื้นที่อย่างยั่งยืนผ่านศิลปะและวัฒนธรรมของชุมชน สร้างพื้นที่ทางวัฒนธรรมสาหรับการอนุรักษ์ และนาไปสู่การสร้างผู้ประกอบการทางวัฒนธรรมในเขตพื้นที่ทางวัฒนธรรมเวียงกาหลง อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย และจัดทาแผนที่ทางวัฒนธรรมในเขตพื้นที่ทางวัฒนธรรมเวียงกาหลง อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงรายen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงen_US
dc.subjectลายเวียงกาหลงen_US
dc.subjectอาชีพที่ยั่งยืนของชุมชนen_US
dc.titleทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง : ลายเวียงกาหลงสู่เป้าหมายอาชีพที่ยั่งยืนของชุมชนen_US
dc.title.alternativeSufficient Economic Theory: Wiang Ka Long stripe towards sustainable career for community goalsen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.