Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/196
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเสฏฺฐเมธี, กฤษณ์ธนินต์-
dc.contributor.authorนาถสีโล, สวงค์-
dc.date.accessioned2022-03-14T09:19:42Z-
dc.date.available2022-03-14T09:19:42Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/196-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย ๑) เพื่อศึกษาการบริหารความเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดของ นักวิชาการทั่วไปทั้งในส่วนของตะวันออกและตะวันตก ๒) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของการ บริหารความเปลี่ยนแปลง ๓) เพื่อศึกษาหลักของพระพุทธศาสนาในการบริหาร และ ๔) เพื่อ สังเคราะห์วิธีการบริหารความเปลี่ยนแปลงตามหลักพระพุทธศาสนา ผลการวิจัยพบว่า ๑) การบริหารความเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดของตะวันออกใช้หลักพุทธธรรมคืออปริ หานิยธรรม และหลักภูมิปัญญาคือการไม่เห็นแก่เล็กแก่น้อย และการไม่เห็นว่าเป็นเรื่อง เล็กน้อย รวมทั้งการรู้หน้าที่ การทาตามหน้าที่ การไม่ก้าวก่ายหน้าที่ ส่วนการการบริหาร ความเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดของตะวันตกใช้หลักการบริหารจัดการที่ดีและหลักธรรมาภิบาล ๒) องค์ประกอบของการบริหารความเปลี่ยนแปลงสาหรับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ จังหวัดฉะเชิงเทราพร้อมกับตัวชี้วัดประกอบด้วย ๑.ศาสนบุคคล และตัวชี้วัดคือจานวนสมาชิก ที่เพิ่มขึ้น, จานวนผู้สอบผ่านปริยัติธรรม และศาสนบุคคลมีความสามารถ ๒. กระบวนการ และ ตัวชี้วัด คือ จานวนสมาชิกเครือข่าย และกระบวนการทางานที่โปร่งใส ๓. การกากับ ดูแล และ ตัวชี้วัด คือ สารสนเทศมีความพร้อมในการใช้งาน ๔. การวางแผน และ ตัวชี้วัด คือ แผนยุทธศาสตร์ปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ของคณะสงฆ์จังหวัด ฉะเชิงเทรา ๕. การเตรียมการ และ ตัวชี้วัด คือ ๑)การบริหารศาสนสมบัติ ๒)การยกระดับ กระบวนการบริหารจัดการ ๓) การพัฒนาวัดสู่ศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และ ๔) การสร้างความมั่นคงด้านพระพุทธศาสนา ๖.วิสัยทัศน์และ ตัวชี้วัด คือ พุทธศาสน์มั่นคง ดารงศีลธรรม นาสังคมสันติสุขอย่างยั่งยืน ๓) หลักของพระพุทธศาสนาในการบริหารคณะสงฆ์จังหวัดฉะเชิงเทรา คือ สังคหวัตถุ ๔ สาหรับการบริหารตน, พรหมวิหาร ๔ สาหรับการบริหารคน และ อิทธิบาท ๔ สาหรับการ บริหารงาน ๔) ผลการวิเคราะห์การบริหารความเปลี่ยนแปลงตามหลักบริหาร พบว่า หลักธรรมาภิ บาลมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการนาไปสู่การสังเคราะห์การบริหารความเปลี่ยนแปลงได้มาก ที่สุด ส่วนตามการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ตามหลักภาวนา ๔ พบว่า การใช้ปัญญาภาวนาจะทาให้ เกิดการพัฒนาศาสนบุคคล ส่วนประเด็นอื่นๆนั้นจะมุ่งเน้นไปที่สีลภาวนาเป็นสาคัญen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสังเคราะห์en_US
dc.subjectการบริหารความเปลี่ยนแปลงen_US
dc.subjectพระพุทธศาสนาen_US
dc.titleการสังเคราะห์การบริหารความเปลี่ยนแปลงตามหลักพระพุทธศาสนาen_US
dc.title.alternativeSynthesis of Change Management Based on Buddhismen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2557-060พระมหากฤษณ์ธนินต์ เสฏฺฐเมธี.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.