Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/175
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ทองวาด, วิวัฒน์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-14T08:08:18Z | - |
dc.date.available | 2022-03-14T08:08:18Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/175 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) เพื่อศึกษาการพัฒนาการด้านภาษาถิ่นของสังคมลุ่มแม่นํ้า โขง จังหวัดหนองคาย ๒) เพื่อศึกษาพลวัตภูมิปัญญาภาษาท้องถิ่นกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ วัฒนธรรม และ ๓) เพื่อเสนอวิธีการอนุรักษ์ ส่งเสริมภูมิปัญญาภาษาถิ่นที่มีคุณค่าแก่การดำเนินชีวิต เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์ และแบบการสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์และสังเกตแบบมีส่วนร่วม กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประกอบด้วย ปราชญ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ผู้เชี่ยวชาญเรื่องภาษาหรือชาวบ้านที่เข้าใจโครงสร้างของภาษาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ในเขตชุมชน ลุ่มแม่นํ้าโขงในจังหวัดหนองคาย ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน ๒๕ รูป/คน แล้วนำผลการสัมภาษณ์ไปวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลด้วยการตีความและสร้างข้อสรุป ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ผลจากการวิจัย พบว่า ๑) ภาษาถิ่นอีสานเป็นภาษาที่สังคมลุ่มแม่นํ้าโขง ที่ใช้แพร่หลายของพื้นที่จังหวัด หนองคาย ๒) การเปลี่ยนแปลงของภาษาเป็นไปตามสภาพสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองและ การปกครอง และ ๓) อักษรถิ่นอีสานเริ่มมีการอนุรักษ์และฟื้นฟูด้วยระบบของรัฐบาลให้เป็นที่นิยม และอนรุ ักษ์ไว้ใหค้ งอย่ตู ่อไป เช่น อักษรไทยนอ้ ยและอักษรธรรมอีสาน เป็นต้น ภาษาและอักษรเป็นมดรกทางภูมิปัญญาของชุมชน เสี่ยงต่อการสูญหาย หรือเผชิญกับภัย คุกคาม ดังนั้น สถาบันครอบครัวเป็นสิ่งแรกที่ควรปลูกฝังให้เด็กเห็นว่าภาษาถิ่นมี ความสำคัญอย่างไร และปลูกฝังให้เด็ก ไม่อายกล้าที่จะพูดภาษาถิ่นในสังคม หรือในครอบครัว ส่วนสถาบันที่สองคือคนใน สังคม ที่ไม่ควรทำรังเกียจหรือเห็นว่าคนพูดภาษาถิ่นเป็นสิ่งแปลกประหลาด เราควรยกย่องด้วยซํ้า เพราะภาษาถิ่นมีคุณค่าควรแก่การรักษาไว้ | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยา่ลัย | en_US |
dc.subject | พลวัต | en_US |
dc.subject | ภูมิปัญญาภาษาถิ่น | en_US |
dc.subject | การเปลี่ยนแปลงทางสังคม | en_US |
dc.subject | ลุ่มแม่นํ้าโขง | en_US |
dc.subject | จังหวัดหนองคาย | en_US |
dc.title | พลวัตภูมิปัญญาภาษาถิ่นกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมลุ่มแม่นํ้าโขง จังหวัดหนองคาย | en_US |
dc.title.alternative | The Dynamic of Wisdom Dialect to Social Change at the Mekong River in Nongkhai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560-104ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิวัฒน์ ทองวาด.pdf | 4.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.