Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/174
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นิกรกุล, ปริญญา | - |
dc.contributor.author | พระครู, วิโชติสิกขกิจ | - |
dc.contributor.author | พระครู, สิริสุตโสภณ | - |
dc.contributor.author | สุวิชาโน, พระครูใบฎีกาสุวินท์ | - |
dc.contributor.author | คล้ายธานี, สุภางค์พิมพ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-14T08:05:33Z | - |
dc.date.available | 2022-03-14T08:05:33Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/174 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาการจัดการและปัญหาของการจัดการป่ากันชนร่วมและ ๒) เสนอยุทธศาสตร์การจัดการป่ากันชนร่วมของชุมชนบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลโดยการวิจัยเอกสาร การวิจัยภาคสนาม ประกอบด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การจัดเวทีสาธารณะ และกิจกรรม “กินข้าวป่าเล่าความหลังฟังปัญหา” ผู้ให้ข้อมูลสาคัญที่ใช้ในการศึกษามีจานวน ๔๗ คน ใช้การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้าด้านวิธีรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา และอธิบายด้วยวิธีพรรณนาโดยเน้นหลักการออกแบบกติกาในการจัดการทรัพยากร ผลการวิจัยพบว่า ๑) มีการหาประโยชน์จากป่าสงวนแห่งชาติและป่าชุมชน โดยผู้คนในและนอกพื้นที่ โดยการบุกรุกพื้นที่ การตัดต้นไม้ การหาของป่า การล่าสัตว์ป่าสงวน วิกฤตการณ์ไฟป่าในฤดูแล้ง ปัญหาของช้างป่าบุกรุกทาลายพืชสวน พืชไร่ และการรุกล้าเข้าไปในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และ ๒) ป่าชุมชน และป่าสงวนแห่งชาติ ที่มีพื้นที่ไม่ประชิดและประชิดกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ดาเนินกิจกรรมผ่านโครงการจัดตั้งป่าชุมชนที่กรมป่าไม้อนุญาตให้จัดตั้ง การดาเนินการในพื้นที่ป่าชุมชนมีการลาดตะเวนร่วม มีการพูดคุยปรึกษาหารือระหว่างภาครัฐและชุมชน ทาแนวป้องกันไฟป่า ทาฝายชะลอน้า การปลูกต้นไม้เสริม ตั้งจุดสกัดเพื่อป้องกันและตรวจตรา โดยมีกฎ และระเบียบในทั้งนี้ มีการใช้ประโยชน์ที่ไปในทิศทางเดียวกัน การใช้ประโยชน์ในเชิงพื้นที่ภายใต้ปัจจัยชุมชนมีความแตกต่าง จึงจาเป็นต้องกาหนดแนวทางบนพื้นฐานการทาเป็นยุทธศาสตร์ในพื้นที่กันชนห้วยขาแข้ง เพื่อให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติทั้งหมดภายใต้กฎหมายใหม่ (พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๒ และพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้เป็นยุทธศาสตร์ของพื้นที่ ยุทธศาสตร์ของอาเภอ และยุทธศาสตร์จังหวัด) | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยา่ลัย | en_US |
dc.subject | การจัดการ | en_US |
dc.subject | ป่ากันชน | en_US |
dc.subject | ชุมชน | en_US |
dc.subject | เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า | en_US |
dc.subject | ห้วยขาแข้ง | en_US |
dc.title | การจัดการป่ากันชนร่วมของชุมชนบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง | en_US |
dc.title.alternative | Joint buffer zone forest management of the community area in Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2561-146นายปริญญา นิกรกุล.pdf | 8.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.