Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1299
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วงศ์คง, จำนง | - |
dc.contributor.author | นรินฺโท, พระครูใบฎีกาทวีศักดิ์ | - |
dc.contributor.author | กองพงษ์, พิทยพล | - |
dc.contributor.author | สายบุญเยื้อน, พัชรี | - |
dc.date.accessioned | 2025-07-14T05:06:48Z | - |
dc.date.available | 2025-07-14T05:06:48Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1299 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาสภาพปัญหากระบวนการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย ๒) เพื่อศึกษากระบวนการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย ๓) เพื่อเสนอแนวทางกระบวนการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ตัวอย่าง/ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ รวมทั้งสิ้น ๖๐ คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ แบบสนทนากลุ่มย่อย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยได้ทำการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงบุคคล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ๑) สภาพปัญหากระบวนการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย พบว่า แต่ละชุมชนผู้นำมีความรู้เกี่ยวกับคดีโลกคดีธรรมน้อย ขาดวิสัยทัศน์ทีกว้างไกลบุคคลากรทางพระพุทธศาสนาก็ไม่มีความรู้เรื่องวัฒนธรรมไม่มีบทบาทความเป็นผู้นำ และผู้นำชุมชนยังไม่รู้เรื่องวัฒนธรรมคืออะไร สำคัญอย่างไรต่อเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ตัวเอง ไม่มีความเข้าใจสภาพชุมชนในการปฏิบัติต่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมหลักในการความถูกต้องต่อวัฒนธรรมประชาชนส่วนมากเป็นเกษตรกร ประกอบอาชีพการเกษตรไม่ค่อยมีเวลาที่จะมาศึกษาถึงเรื่องการอนุรักษ์ให้เข้าใจถ่องแท้ ๒) กระบวนการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย พบว่า ๑) ควรมีการให้ความรู้กับชุมชนบ้านแสงภาเกี่ยวับการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนที่มีอยู่ในปัจจุบันให้คงอยู่ตลอดไป ๒) การจัดตั้งคณะกรรมการมาดูแลในการที่จะนำเอาทรัพยากรทางวัฒนธรรมของชุมชนมาใช้ให้ถูกต้องตามครรลองประเพณีที่เคยปฏิบัติกันมา ๓) จัดกิจกรรมอนุรักษ์ ข วัฒนธรรมที่มีอยู่และฟื้นฟูสิ่งที่กำลังจะสูญหาย หรือที่สูญหายไปแล้วให้กลับมาเหมือนเดิม ๔) การสร้างกติกาข้อตกลงร่วมกันในชุมชนเมื่อมีกฎเกณฑ์ขึ้นมารองรับภายในชุมชน จะต้องมีกฎกติกาที่แน่นนอน ให้ชุมชนบ้านแสงภารับรู้ในกฎกติกาที่ตั้งขึ้นมาร่วมกัน ๕) สร้างเครือข่ายที่มีส่วนได้เสียประชุมร่วมกัน โดยมีหัวประชุมเกี่ยวกับผลประโยชน์ร่วม ๓) ข้อเสนอแนะ พบว่า ผู้นำควรมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลบุคลากรทางพระพุทธศาสนาก็มีความรู้เรื่องวัฒนธรรม การใช้เทคโนโลยีทีทันสมัย ควรรักษาสภาพแวดล้อมไม่ควรให้ถูกทำลายสภาพ ผู้นำชุมชนช่วยแนะให้คนในชุมชนรักษาความสะอาดและภาพแวดล้อมในชุมชน การมีส่วนร่วมการอนุรักษ์วัฒนธรรมชุมชนประชาชุมเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์ ควรเข้าถึงวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ และหางบประมาณในการสนับสนุนการจัดกิจกรรมของประเพณีในท้องถิ่น | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กระบวนการอนุรักษ์ | en_US |
dc.subject | วัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธ | en_US |
dc.subject | ตามแนวชายแดน | en_US |
dc.title | กระบวนการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย | en_US |
dc.title.alternative | Cultural Conservation Process of the Buddhist Oriented Communities along Loei border | en_US |
dc.type | Other | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ว.027.2565.ย่อย3.pdf | 4.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.