Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1296
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorไทยใหญ่, พระมหาประพันธ์-
dc.date.accessioned2025-07-14T04:47:58Z-
dc.date.available2025-07-14T04:47:58Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1296-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “การขับเคลื่อนวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย” มีวัตถุประสงค์คือ ๑) เพื่อศึกษาการเสริมสร้างศักยภาพวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย ๒) เพื่อศึกษาการพัฒนาและยกระดับการจัดการวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย ๓) เพื่อศึกษากระบวนการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย และ ๔) เพื่อเสนอแนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลสาคัญจานวน ๖๐ คน ตรวจสอบด้วยวิธีสามเส้า (Triangulation) ในการยืนยันข้อมูลว่าเป็นข้อมูลที่ตรงกันและเป็นข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการพรรณนาตามหลักอุปนัยวิธี ผลการวิจัยพบว่า ๑. การเสริมสร้างศักยภาพวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย พบว่า ด้านการเสริมสร้างศักยภาพวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธ ได้แก่ ๑) การเสริมสร้างศักยภาพการจัดการวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธ ๒) การเสริมสร้างศักยภาพการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมชุมชน ๓) การเสริมสร้างศักยภาพการจัดการคน และองค์กรเครือข่ายวัฒนธรรมชุมชน ๒. การพัฒนารูปแบบและกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย แบ่งออกเป็น ๓ รูปแบบ คือ ๑) รูปแบบการเสริมสร้างศักยภาพการจัดการวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธ ๒) รูปแบบและกิจกรรมการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมชุมชน ๓) รูปแบบกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพการจัดการคน และองค์กรเครือข่ายวัฒนธรรมชุมชน และ ๓. รูปแบบการเสริมสร้างศักยภาพวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย ได้แก่ ๑) การส่งเสริมการเรียนรู้วัฒนธรรมชุมชน ๒) การอนุรักษ์วัฒนธรรม ขนมธรรมเนียมประเพณีของชุมชน ๓) การเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ๒. การพัฒนาและยกระดับการจัดการวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย พบว่า กระบวนการสร้างวัฒนธรรมเพื่อยกระดับตามนโยบายชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนประชาชนจะเล็งเห็นความสาคัญในกระบวนการของเจ้าหน้าที่ของรัฐ และให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ของรัฐผ่านกระบวนการชักจูงจากผู้นาชุมชน โดยมีขั้นตอนดังนี้ ๑) การประชุมประชาคม ๒)การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ๓) สร้างเสริมการมีส่วนร่วมกับชุมชน ๔) พัฒนาศักยภาพโดยฝึกอบรม ๓. กระบวนการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย พบว่า ๑) การถ่ายทอดความรู้ให้ชุมชน ๒) การจัดตั้งคณะกรรมการ ๓) การจัดกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรม ๔) การสร้างกติกาข้อตกลงร่วมกันในชุมชน ๕) สร้างเครือข่ายความร่วมมือแบบมีส่วนร่วม ๔. การเสริมสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย พบว่า แนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย ได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ และบทบาทหน้าที่ของคณะทางานการขับเคลื่อนวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลย ซึ่งมีการนาหลักพุทธธรรม “อปริหานิยธรรม” มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดแนวทางการขับเคลื่อนวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลยเชิงบูรณาการ เพื่อที่จะนาพาให้วัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธได้รับการอนุรักษ์และส่งเสริมอย่างจริงจังและยั่งยืนต่อไปen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขับเคลื่อนen_US
dc.subjectเครือข่ำยen_US
dc.subjectวัฒนธรรมen_US
dc.subjectวิถีพุทธen_US
dc.subjectชุมชนen_US
dc.subjectการอนุรักษ์en_US
dc.titleการขับเคลื่อนวัฒนธรรมชุมชนวิถีพุทธตามแนวชายแดนจังหวัดเลยen_US
dc.title.alternativePropulsion of Buddhist Oriented Community Culture along Loei Borderen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ว.027.2565.pdf8.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.