Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1262
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อินฺทปญฺโญ, พระมหาเกรียงศักดิ์ | - |
dc.contributor.author | ปณฺฑิตเมธี, พระมหาบัณฑิต | - |
dc.contributor.author | ปญฺญาสิริ, พระมหาปัญญา | - |
dc.contributor.author | ภูษา, นายถาวร | - |
dc.date.accessioned | 2025-07-07T07:00:53Z | - |
dc.date.available | 2025-07-07T07:00:53Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1262 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ ๑) เพื่อวิเคราะห์บริบทและศักยภาพของสวนสาธารณะใน ประเทศไทยที่เอื้อต่อการพัฒนาสวนสาธารณะอย่างยั่งยืน ๒) เพื่อสังเคราะห์กระบวนการพัฒนา สวนสาธารณะอย่างยืนในประเทศไทยที่เอื้อต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ๓) เพื่อสร้าง รูปแบบการพัฒนาสวนสาธารณะอย่างยั่งยืนในเมืองไทยที่เอื้อต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม โดยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี ใช้แบบสอบถามกับผู้เข้ามาใช้บริการสวนสาธารณะจำนวน ๒๐๐ คน ด้วยการสุ่มแบบเจาะจง และสัมภาษณ์นักออกแบบภูมิสถาปัตย์ ๔ และนักวิชาการ วัฒนธรรมสร้างสรรค์ ๔ คน พร้อมทั้งการประชุมกลุ่มย่อย ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่า สวนสาธารณะทั้งสองแห่งมีความพร้อมเชิงกายภาพมาก โดยเฉพาะพื้นที่สีเขียว สามารถจัดกิจกรรมต่างๆได้เป็นอย่างดี ลุมพีนีมีการพัฒนาโดยยึดผังแม่บทเดิม เคารพรากฐานของประวัติศาสตร์ บริบทของพื้นที่โดยรอบ และความต้องการของผู้ใช้ที่เปลี่ยนไป ตามกาลเวลา ในขณะที่สวนเบญจกิติถูกพัฒนาสู่ความยั่งยืนภายใต้รูปแบบการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็น ความสำคัญอันดับแรก และการสร้างสรรค์อาคารสถานที่เพื่อเชื่อมโยงความหลากหลายของผู้คนผ่าน กิจกรรมที่หลากหลาย สวนลุมพินีได้เพิ่มพื้นที่จากที่รกร้างเพื่อความสนุกของผู้มาใช้งานอย่าง หลากหลาย แบบอเนกประสงค์ มีศูนย์นันทนาการ สมาคม ชมรมต่างๆ ล้อมรอบด้วยพื้นที่สีเขียว ขนาดใหญ่ผสานเข้ากับมิติของศิลปวัฒนธรรมซึ่งเอื้อต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างลงตัว ในขณะที่ สวนเบญจกิติ มีอาคารแสดงศิลปวัฒนธรรมแทรกตัวอยู่กลางพื้นที่ป่า โดยกำหนดให้มีพื้นที่สำหรับ กิจกรรมด้านวัฒนธรรม กว่า๑๗ % ของพื้นที่ทั้งหมดซึ่งหมายถึงสวนสาธารณะทั้งสองแห่งออกแบบ และพัฒนาได้อย่างยั่งยืนและเอื้อต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมได้อย่างแท้จริง | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | สวนสาธารณะ | en_US |
dc.subject | อย่างยั่งยืน | en_US |
dc.subject | การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | en_US |
dc.title | THE PARK: การพัฒนาสวนสาธารณะอย่างยั่งยืนที่เอื้อต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม | en_US |
dc.title.alternative | THE PARK: Developing sustainable parks that are conducive to promoting cultural tourism | en_US |
dc.type | Other | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ว.018.2565.pdf | 39.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.