Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1261
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระครูปลัดสุวัฒนพุทธิคุณ-
dc.contributor.authorวชิรญาณเมธี, พระมหาเทวประภาส-
dc.date.accessioned2025-07-07T06:56:11Z-
dc.date.available2025-07-07T06:56:11Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1261-
dc.description.abstractการวิจัย เรื่อง “รูปแบบการสร้างศักยภาพด้านการท่องเที่ยวอาเภอเนินมะปราง จังหวัด พิษณุโลก” มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาระดับศักยภาพด้านการท่องเที่ยวอาเภอเนินมะปราง จังหวัด พิษณุโลก ๒) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบที่สาคัญต่อการจัดการสร้างศักยภาพด้านการท่องเที่ยวอาเภอ เนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก และ ๓) เพื่อนาเสนอรูปแบบการจัดการสร้างศักยภาพด้านการ ท่องเที่ยว อาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ทั้งวิธีการ สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Informants) ๒๒ รูป/คน การวิจัย เชิงสารวจโดยการสังเกต (Observation techniques) และการแจกแบบสอบถามเชิงปริมาณ (Questionnaires) ประชาชนในอาเภอเนินมะปราง ๔๐๐ คน เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสภาพในพื้นที่ และ เพื่อยืนยันแนวทางการจัดการสร้างศักยภาพฯ ผู้วิจัยได้ทาการสนทนากลุ่มเฉพาะ (Focus Group Discussion) กับผู้เกี่ยวข้อง ๑๐ รูป/คน เพื่อหาข้อสรุปแนวทาง และวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการสร้าง ศักยภาพด้านการท่องเที่ยว อาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก ที่มีความเป็นไปได้จริงในทางปฏิบัติ ผลการวิจัยพบว่า ๑. อาเภอเนินมะปราง มีแหล่งท่องเที่ยวทั้งหมด ๔๖ แหล่ง แหล่งท่องเที่ยวส่วนใหญ่ ร้อย ละ ๕๕ เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ รวม ๒๕ แหล่ง ส่วนใหญ่อยู่ในเขตพื้นที่ ตาบลชมพู และ ตาบลนามุง ผู้ตอบแบบสอบถามความคาดหวังที่มีต่อ ภาคส่วนที่ควรมีหน้าที่ในการสร้างศักยภาพด้าน การท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ เป็นภาคราชการอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๐ รองลงมา เป็นองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นทุกระดับ และสมาชิกในชุมชน มีจานวนน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๓.๗ นอกจากนี้ ผู้ตอบ แบบสอบถามที่มีระยะเวลาจากประสบการณ์การทางาน, อาชีพ, ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน และ ความคิดเห็นต่อภาคส่วนที่ควรมีหน้าที่ฯ ต่างกัน มีระดับการประเมินองค์ประกอบฯ แตกต่างกันอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ทุกประเด็น จึงยอมรับสมมติฐานทางสถิติที่ตั้งไว้ ๒. องค์ประกอบการจัดการสร้างศักยภาพด้านการท่องเที่ยวฯ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = ๒.๙๗) และเมื่อจาแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านทรัพยากรการท่องเที่ยว อยู่ใน ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = ๓.๖๘) ส่วนในด้านผลิตภัณฑ์ชุมชนทางการท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยต่าสุด (ค่าเฉลี่ย = ๓.๑๐) ข ๓. จากการวิเคราะห์ SWOT ปัจจัยภายในและภายนอก และสังเคราะห์ TOWS matrix เพื่อหาแนวทางในการกาหนดองค์ประกอบที่สาคัญต่อปัจจัยความสาเร็จเชิงกลยุทธ์ ในการจัดการ สร้างศักยภาพด้านการท่องเที่ยวฯ สามารถนามาจัดทาเป็นกลยุทธ์ หรือองค์ประกอบที่สาคัญฯ ได้ ๗ ด้าน ซึ่งสามารถกาหนดลาดับความจาเป็นในการนาไปปฏิบัติ ตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน ด้านขีดความสามารถในการรองรับ ด้านการบริการแก่นักท่องเที่ยว ด้านการบริหารจัดการการท่องเที่ยว ด้านผลิตภัณฑ์ชุมชนทางการท่องเที่ยว ด้านกิจกรรมและ กระบวนการท่องเที่ยว และด้านทรัพยากรการท่องเที่ยวen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสร้างศักยภาพen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวen_US
dc.subjectอำเภอเนินมะปรางen_US
dc.titleการสร้างศักยภาพด้านการท่องเที่ยวอาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลกen_US
dc.title.alternativeBuilding of Tourism Capacity of NoenMaprang District, Phitsanulok Provinceen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ว.017.2565.ย่อย3.pdf5.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.