Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1252
Title: | การพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธกับการรองรับสังคมสูงวัยระดับตาบล |
Other Titles: | Development of Buddhist Community Elderly Caregivers and the Support of the Aged Society at the Sub-District Level |
Authors: | แก้วไพฑูรย์, อนงค์นาฏ อ่าจุ้ย, ศศิกิจจ์ เดชจิต, อาณัติ |
Keywords: | กำรพัฒนำ นักบริบำลชุมชน นักบริบำลชุมชนวิถีพุทธ นักจัดกำรชุมชนด้ำนนักบริบำลชุมชน สังคมสูงวัย |
Issue Date: | 2565 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื อศึกษาวิเคราะห์บทบาทหน้าที นักบริบาลชุมชนกับการรองรับสังคมสูงวัยระดับตาบล ๒) เพื อพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธกับการรองรับสังคมสูงวัยระดับตาบล ๓) เพื อถอดบทเรียนการพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธกับการรองรับสังคมสูงวัยระดับตาบล เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ( Action research) ประกอบด้วย ขั้นตอนที ๑ การวางแผน โดยการวิเคราะห์บทบาทหน้าที นักบริบาลชุมชน และการสร้างฉันทามติสู่การพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธโดยการเปิดเวทีสาธารณะผ่านเวที ผู้มีส่วนได้เสีย ขั้นที ๒ การลงมือปฏิบัติ การขับเคลื อนกิจกรรม ผ่านการออกแบบร่วมกัน ขั้นตอนที ๓ สังเกต ติดตาม และประเมินผลโดยใช้แบบประเมิน CIPPI Model ขั้นตอนที ๔ สะท้อนผลการขับเคลื อนกิจกรรม ถอดบทเรียนผ่านเทคนิคการทบทวนหลังการขับเคลื อนกิจกรรมเสร็จสิ้น และใช้การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ๑. ศึกษาวิเคราะห์บทบาทหน้าที นักบริบาลชุมชนกับการรองรับสังคมสูงวัยระดับตาบลหนองนมวัว พบว่า ผลการวิเคราะห์บทบาทหน้าที นักบริบาลชุมชน มีหน้าที ๑) ด้านส่งเสริมสุขภาพ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี ยวกับสุขภาพเบื้องต้น ส่งเสริมการออกกาลังกาย ๒) ด้านป้องกันให้การดูแลในการป้องกันโรคเบื้องต้นกับผู้สูงวัย ๓) ด้านรักษาช่วยรักษาอาการเบื้องต้นให้กับผู้สูงวัย ๔) ด้านฟื้นฟู ช่วยฟื้นฟูทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้กับผู้สูงวัย วิเคราะห์การทางานในบทบาทหน้าที ปัญหาและความต้องการของชุมชนยังพบอีกว่านักบริบาลชุมชนมีประสบการณ์น้อยในการดูแล ยังขาดความน่าเชื อถือกับผู้สูงวัยในชุมชน นักบริบาลชุมชนไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้สูงวัยและบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจ ทัศนะคติ ทักษะปฏิบัติในการดูแลผู้สูงวัยในด้านส่งเสริมสุขภาพ ด้านป้องกัน ด้านรักษาและด้านฟื้นฟู ๒. การพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธกับการรองรับสังคมสูงวัยระดับตาบลพบว่า ๑) การพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธ( ด้านส่งเสริมสุขภาพ) ตามหลักภาวนา ๔ กายภาวนา พบว่า ได้รับการพัฒนาทางกายในด้านการส่งเสริมสุขภาพ ได้ความรู้ความเข้าใจทางหลักการใหม่ๆในการส่งเสริมสุขภาพ ๒) การพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธ( ด้านป้องกัน) ตามหลักภาวนา ๔ สีลภาวนา พบว่าได้รับการพัฒนาทางพฤติกรรมในการป้องกันสุขภาพ ได้ความรู้ทักษะปฏิบัติเกี ยวกับการป้องกันสุขภาพ ๓) การพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธ(ด้านการรักษา) ตามหลักภาวนา ๔ จิตตภาวนาพบว่า ได้รับการฝึกพัฒนาทางจิตใจให้เข้มแข็งมีความรับผิดชอบในการรักษาสุขภาพให้กับผู้สูงวัย .๔) การพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธ(การฟื้นฟู) ตามหลักภาวนา ๔ ปัญญาภาวนาพบว่าได้ฝึกการพัฒนาทางปัญญาได้รับความรู้ในการฟื้นฟูร่างกายและจิตใจผู้สูงวัย พัฒนาปัญญาให้เกิดการมองโลกและมี ทัศนะคติ ทักษะปฏิบัติในการดูแลผู้สูงวัย การประยุกต์หลักภาวนา ๔ กายภาวนา สีลภาวนา จิตตภาวนา และปัญญาภาวนาเข้าไปปรับใช้ในการพัฒนานักบริบาลวิถีพุทธในการดูแลผู้สูงวัยด้วยหลักการที ถูกต้องเหมาะสม พบว่า การประเมินผลกิจกรรมของผู้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักบริบาลวิถีพุทธทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ด้านการป้องกัน ด้านการรักษา ด้านการฟื้นฟู มี ๖ กิจกรรม ๑) กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักการ ๒) กิจกรรมการออกกาลังกายสไตล์หนองนมวัว ๓) กิจกรรมปฐมพยาบาลเบื้องต้น ๔) กิจกรรมการประเมินคัดกรอง และการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยกลุ่มติดบ้านและเตียง ๕) กิจกรรมการประเมินคัดกรอง และการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยกลุ่มติดบ้านและสังคม ๖) กิจกรรม ความรู้ฟื้นฟูจิตดี ผลการประเมินหลังทากิจกรรมทุกกิจกรรมสูงกว่าผลการประเมินก่อนกิจกรรมและผลการประเมินหลังกิจกรรมทุกกิจกรรมพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธมีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติและทักษะปฏิบัติมากกว่าร้อยละ ๘๐ ๓. ถอดบทเรียนการพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธกับการรองรับสังคมสูงวัยระดับตาบล พบว่า ๓.๑) การประเมินกระบวนการชุมชน โดยใช้แบบจาลองการประเมิน CIPPI (CIPPI Model) พบว่า (๑) การประเมินด้านบริบท พบว่า เป้าหมายในการทากิจกรรมเป็นไปได้ตามบริบทของชุมชน (๒) การประเมินปัจจัยนาเข้า พบว่า ประชาชนตาบลหนองนมวัว นักจัดการงานชุมชนด้านนักบริบาลชุมชนนาไปสู่การพัฒนากิจกรรมการพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธ (๓) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) พบว่า มีความรู้ความเข้าใจทัศนะคติทักษะปฏิบัติใน ๔ ด้าน ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ด้านการป้องกัน ด้านการรักษา ด้านการฟื้นฟูประยุกต์หลักภาวนา ๔ ปรับใช้ในการพัฒนานักบริบาลวิถีพุทธในการดูแลผู้สูงวัยได้ถูกต้องเหมาะสม (๔) การประเมินผลิตผล (Product Evaluation) พบว่า การพัฒนานักบริบาลวิถีพุทธพัฒนาครบทุกกิจกรรมได้นักบริบาลชุมชนวิถีพุทธต้นแบบและ (๕) การประเมินผลกระทบ (Impact Evaluation) ความยั งยืนของชุมชน ขยายผลนักบริบาลชุมชนวิถีพุทธและมีการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบลหนองนมวัว ๓.๒ การถอดบทเรียนจากการทางาน (After Action Review: AAR) พบว่า ๑) ความสาเร็จที คาดหวังจากกิจกรรม ได้นักบริบาลชุมชนวิถีพุทธที เป็นต้นแบบ ๒) เป้าหมายที แท้จริงที ทาได้ ผู้เข้าร่วมพัฒนานักบริบาลชุมชนวิถีพุทธ ประเมินผลหลังทากิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติและทักษะปฏิบัติมากกว่าร้อยละ ๘๐ ๓). ปัจจัยที ส่งผลต่อความสาเร็จประกอบด้วย (๓.๑) การวางแผนที ชัดเจน (๓.๒)การมีส่วนร่วมของชุมชน (๓.๓)ภาคีเครือข่ายในพื้นที ให้ความร่วมมือ (๓.๔) การรับฟังปัญหาในการทากิจกรรม(๓.๕) ผู้นาท้องถิ น/นักจัดการงานชุมชนด้านบริบาล/พี เลี้ยง ให้การสนับสนุนในการทากิจกรรมติดตามอย่างจริงจัง ๔) ปัญหาและข้อจากัด (๔.๑) สถานการณ์ โควิด-๑๙ (๔.๒) ข้อจากัดของผู้เข้าร่วมกิจกรรมในช่วงเวลาไม่ตรงกัน ๕) สิ งที ได้เรียนรู้ / คุณค่า / ความภูมิใจคือการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักภาวนา ๔ เข้ามาประยุกต์ในมิติสุขภาพในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน การรักษา และฟื้นฟูได้ความรู้ ทัศนะคติ ทักษะปฏิบัติที เหมาะสมกับผู้สูงวัย ๖ ) ทาอย่างไรให้เกิดความยั งยืนในชุมชน(๑) การประสานงานทุกภาคส่วน (๒) ขยายผลนักบริบาลชุมชนวิถีพุทธ (๓ )สร้างเครือข่าย |
URI: | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1252 |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ว.014.2565.ย่อย3pdf.pdf | 7.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.