Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.ดร.-
dc.date.accessioned2021-07-29T02:21:55Z-
dc.date.available2021-07-29T02:21:55Z-
dc.date.issued2020-06-02-
dc.identifier.citationปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2563en_US
dc.identifier.issn2539-6269-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/119-
dc.descriptionพระพุทธศาสนามีประวัติศาสตร์ยาวนาน ในดินแดนแห่งประชาคมอาเซียนหรือสุวรรณภูมิแห่งนี้มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกือบทุกประเทศรวมถึงประชากรที่นับถือพระพุทธศาสนาที่สืบเนื่องมาถึงปัจจุบัน กล่าวได้ว่าพระพุทธศาสนาได้ผูกพันกับวิถีชีวิตของประชาชนในแถบนี้และได้ช่วยสร้างสรรค์ อารยธรรมความรุ่งเรืองของประชาคมอาเซียนหลายประเทศ ภายใต้แนวคิดสังคมแห่งสันติภาพและภราดรภาพ โดยเฉพาะกลุ่มประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนานั้นยังคงมีการติดต่อสร้างความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง มีการส่งเสริมการศึกษาด้านพระพุทธศาสนา มีการประชุมแลกเปลี่ยนเพื่อการพัฒนาสังคม มีการดาเนินการในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้กว้างขวางเพื่ออานวยสันติสุขแก่มหาชนชาวอาเซียนมากยิ่งขึ้น เช่น มีการจัดประชุมสุดยอดผู้นาพุทธศาสนาแห่งโลก (World Buddhist Summit) มีการจัดการประชุมในวันสาคัญของพระพุทธศาสนา คือ วันวิสาขบูชาในระดับโลก เป็นต้น ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งที่ผู้ที่เกี่ยวข้องทางพระพุทธศาสนาในประเทศต่าง ๆ ได้มาพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแสวงหาแนวทางเพื่อความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาและความสงบสุขของประชาคม นอกจากนี้ในระดับประชาชนก็ยังคงมีการติดต่อร่วมประกอบกิจกรรมทางพุทธศาสนาของประชาชนภายในกันเสมอ (สุวิญ รักสัตย์, 2556 : 2-3) บทความนี้จึงมีจุดมุ่งหมายของการยกหัวข้อนี้ขึ้นมาก็คงมีจุดประสงค์เพื่อการมองหาจุดร่วมกันในการผลักดันพระพุทธศาสนาให้เข้าสู่เสาหลักที่ 3 ของประชาคมอาเซียนที่ต้องการสร้างความมั่นคงทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมกันได้อย่างไรen_US
dc.description.abstractบทบาทพุทธศิลปะในประเทศอาเซียน แสดงออกในฐานะที่เป็นศิลปะในการดาเนินชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย ซึ่งสะท้อนผ่านบทบาทการดาเนินชีวิตของประชาชน หรือกรอบของวัฒนธรรมทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ คติธรรม เนติธรรม วัตถุธรรม และสหธรรม บทบาทของพุทธศิลปะทั้ง 4 ด้าน ดังกล่าว เป็นการสร้างโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อกันและกันทาให้เข้าใจกันและกัน รวมถึงความหลากหลายของพระพุทธศาสนา ที่เข้าได้กับทุกวัฒนธรรม ดังที่องค์ทะไลลามะของทิเบตเคยตรัสว่า พระพุทธศาสนานั้นเป็นศาสนาที่เข้าได้กับทุกวัฒนธรรม ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ ส่งเสริมวัฒนธรรมนั้นให้เป็นอารยธรรมยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันอุปสรรคที่จะทาให้การร่วมมือในการขับเคลื่อนบทบาทนี้เป็นไปไม่ได้ หรือไม่เป็นตามกรอบของอาเซียนที่ได้กาหนดไว้ ก็อยู่ที่การเข้าใจผิดที่มีต่อยึดติดกับการนับถือตามแบบของตนเองโดยไม่เปิดใจกว้าง โดยมุ่งเน้นแต่เพียงว่าพระพุทธศาสนาตามที่ประเทศตนเท่านั้นเป็นพระพุทธศาสนาที่ถูกต้อง ปฏิบัติถูกต้อง ประเทศอื่นนั้นไม่ถูกต้อง ไม่สารวม การเข้าไปกาหนดวัฒนธรรมของตนเป็นวัฒนธรรมที่ดีอย่างเดียว นั้นทาให้เป็นอุปสรรคต่อการร่วมกันกาหนดบทบาทด้านนี้ ดังนั้น ความสาเร็จของการแสดงบทบาทพุทธศิลปะในอาเซียน จะเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด ก็ขึ้นอยู่กับนโยบายของผู้นาแต่ละประเทศ ที่สาคัญคือ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการผลักดันร่วมมือกัน และสร้างความรับผิดชอบร่วมกัน ไม่ควรให้เป็นหน้าที่ของคณะสงฆ์ ภาครัฐหรือผู้มีส่วนรับผิดชอบเท่านั้นen_US
dc.publisherวารสารพุทธอาเซียนศึกษา Buddhist ASEAN Studies Journal (BASJ)en_US
dc.subjectบทบาทพุทธศิลปะ, วิถีการดาเนินชีวิต, กรอบวัฒนธรรมen_US
dc.titleบทบาทพุทธศิลปะในวิถีการดาเนินชีวิตของประชาคมอาเซียนen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Articles)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.