Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1191
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระภาวนาพิศาลเมธี วิ. (ประเสริฐ มนฺตเสวี)-
dc.date.accessioned2024-10-24T07:32:04Z-
dc.date.available2024-10-24T07:32:04Z-
dc.date.issued2023-02-08-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1191-
dc.description.abstractพระพุทธเจ้าทรงได้รับขารพระนาม อีกนามหนึ่งว่า "พระสัพพัญญู" แปลว่า ผู้รู้ทั้งปวง คือ ทรงรู้หมดทุกอย่าง ด้วยความที่พระองค์ทรงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างนี่เอง จึงมีพระดำริว่า ถ้าหากทรงสอน ทั้งหมด หรือบอกทั้งหมดที่ทรงรู้ก็จะก่อให้เกิดโทษ เกิดหายนะแก่มวลสรรพสัตว์เสียมากกว่า พระองค์จึงทรงเลือกที่จะสอนเฉพาะเรื่องที่เป็นไปเพื่อดับความทุกข์ เพื่อคลายความโศกเท่านั้น พระพุทธเจ้าเรียบเหมือน หมอผ่าตัดผู้บาตเห็นที่ถูกตรมิภอก พมอใส่ในในในในในศัละไสไสไสได้ใสาาา คนยิงเป็นใคร ทำไมจึงยิง หมอทำหน้าที่เพียงเร่งผ่าตัดช่วยชีวิตให้เร็วที่สุด แต่ถ้าผู้ป่วยไม่ยอม ให้ผ่าตัดเอาลูกศรออก โดยตั้งเงื่อนไข ว่า "ต้องหาคนยิงให้ได้ก่อน ว่าเขาหน้าตาเป็นอย่างไร? ผู้หญิงหรือผู้ชาย ต้องให้เขาบอกเหตุผลที่ยิงให้ได้ ก่อนจึงจะยอมให้หมอผ่าเอาลูกศรออก" ถ้าเป็นเช่นนั้นก็รับรองได้ว่าผู้ป่วยต้องเสียชีวิตก่อนอย่างแน่นอน ศาสนาพุทธมุ่งแก้ปัญหาด้วย ความรู้ที่ถูกต้องสอดคล้องกับความเป็นจริงของชีวิต ด้วยการเจริญวิปัสสนาภาวนาดามรู้ความจริง เพราะระบบควานรู้นี้มีใช่เกิดจากเพียงการดิศวิเตราะห์ หรืออ้างเหตุผลจากแหล่งความวันที่อื่น แต่เริ่มต้นจากประสบการณ์ตรงของพระส้มมาสัมพทธเจ้าเอง และถูกพิสูจน์อย่างประจักษ์แจ้งโดย ประสบการณ์ตรงของพระภิกษุในพุทธศาสนามาทุกยุคทุกสมัย การเจริญวิปัสสนา คือ การเพ่งพินิจพิจารณาธรรมตามเป็นจริง แต่ที่เราไม่เห็นรูป- นนามตามความเป็นจริงคือโดยความเป็นไตรลักษณ์ ได้โดยง่ายนั้น ก็เพราะมีสิ่งขว สันตติปิดบังอนิจจัง อิริยาบถปิดบังทุกข์ ฆนสัญญาปิดบังอนัดตา อันก่อให้เกิดความเข้าใจผิด รู้ผิด เห็นผิด ๔ ประการ คือ (๑) สำคัญผิดว่ารูปสังขารเป็นของสวยงาม (๒) สำคัญผิดว่ารูป-นามเป็นสุข (๓) สำคัญผิดว่ารูป-นามเป็นของเที่ยง (๔) สำคัญผิดว่ารูป-นามสังขารเป็นตัวตน วิธีการที่จะกำจัดความ สำคัญผิดทั้ง ๔ ประการนี้ได้ มีอยู่เพียงทางเดียวเท่านั้น นั่นคือการตามรู้ ตามเห็น ความจริงของรูป- นามตามหลักสติป้ฏฐาน ๔ นอกจากนี้ไม่มีทางใดอีกเลย การงริญสติปัฏฐาน ๕ ทำให้เกิดวิปตตนาปญญญาเห็นแจ้งความจริธธรรป-นาม ในคัมภีร์ อรรถกถากล่าวว่า สติปฏฐาน ๔ มุ่งแสดงการละหรือทำลายวิปลาสธรรมเป็นหลัก คือ สุภวิปลาส กำจัดได้ด้วยการเจริญกายานป้สสนาสติปฏฐาน สุขวิปลาสกำจัดได้ด้วยการเจริญเวทนานุปลสนา สติปัฏฐาน นิจจวิปลาสกำจัดได้ด้วยการเจริญจิตดานุปัสสนาสติปฏฐาน อัดตวิปลาสกำจัดได้ด้วยการ เจริญธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน ด้วยเหตุผลตั้งกล่าวนี้ จึงกล่าวได้ว่าวิปสสนาและสติปฏฐานเป็น สิ่งเดียวกันโดยความเป็นเหตุเป็นผลกัน คือ วิปัสสนาญาณจะมีขึ้นไม่ได้เลยหากขาดกระบวนการ พิจารณาธรรมดามแนวสติปฏฐาน ๔ หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาขาวิชาวิปสสนาภาวนา มหาวิทยาลัยพท- ลงกรณราชวิทยาลัย กำหนดให้นิสิตต้องศึกษาวิธีปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาตามแนวสติปฏฐานสูตรen_US
dc.subjectสติปัฏฐานen_US
dc.subjectภาวนาen_US
dc.subjectสติปัฏฐานภาวนาen_US
dc.titleสติปัฏฐานภาวนา พ.ศ. 2566 (Satipatthanabhavana)en_US
dc.typeBooken_US
Appears in Collections:เอกสารประกอบการสอน (Teaching Publications)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
รายวิชา สติปัฏฐานภาวนา ๒๕๖๖.pdf5.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.