Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1190
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระภาวนาพิศาลเมธี วิ. (ประเสริฐ มนฺตเสวี)-
dc.date.accessioned2024-10-24T07:25:35Z-
dc.date.available2024-10-24T07:25:35Z-
dc.date.issued2023-01-03-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1190-
dc.description.abstractในปัจจุบันนี้ การดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความชับช้อนมากขึ้นทุกขณะ ทำให้ หลงลืมศึกษาเรื่องคุณธรรมความดีและหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา เกิดความประมาทใน การดำเนินชีวิต ดังนั้น การศึกษาจึงมีความสำคัญมากต่อการพัฒนาทางด้านความคิดและ พฤติกรรม ทำให้คนๆนั้นมีคุณธรรมและมีภูมิคุ้มกันทางด้านอารมณ์ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความ สงบสุข แม้จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ดี ตนเองก็จะไม่เสียความดีไป ขบวนการศึกษาที่จะทำให้ ถึงเป้าหมายนั้นได้ พระพุทธองค์ทรงวางหลักของการศึกษาไว้ ๓ ประการ คือ สีลสิกชา จิตตสิก ขา และปัญญาสิกช้า ถ้าศึกษาครบกระบวนการดังกล่าว จะทำให้มีความเข้าใจถูกเกี่ยวกับโลก และชีวิตตามความเป็นจริง ความรู้และความประพฤติ ซึ่งมีศัพท์เฉพาะว่าวิชชาจรณสัมปันโน แต่ในสังคมปัจจุบัน (ทางโลก) จะเน้นให้มีความรู้มากๆในด้านการทำมาหาเลี้ยงชีพ คือให้ ความสำคัญแก่ความรู้มากกว่าคุณธรรม จึงทำให้สังคมมีความสับสนวุ่นวายมากอย่างทุกวันนี้ อนึ่ง หลักไตรสิกขาดังกล่าวมานั้น บุคคลควรฝึกโดยเริมจากสีลสิกก่อน คือควบคุบคุม ความประพฤติทางกายและวาจาให้ดีเสียก่อน เมื่อมีความประพฤติทางกายและวาจาดีแล้ว จึง ควรพัฒนาในระดับของจิตและปัญญาต่อไป ศีลจึงเป็นฐานของสมาธิ สมาธิเป็นฐานของปัญญา เป็นชั้นๆ ไปดังนี้ เมื่อทำตามกระบวนการดังกล่าวมาจึงจะทำให้มีกำลังในการพัฒนาชีวิตให้ไป ในทางที่ดีได้en_US
dc.subjectสมถen_US
dc.subjectภาวนาen_US
dc.subjectสมถภาวนาen_US
dc.titleสมถภาวนาen_US
dc.typeBooken_US
Appears in Collections:เอกสารประกอบการสอน (Teaching Publications)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
รายวิชา สมถภาวนา ๒๕๖๖.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.