Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1174
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ยรรยงค์, ธัชพล | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-01T07:50:03Z | - |
dc.date.available | 2023-12-01T07:50:03Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1174 | - |
dc.description.abstract | โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง "การพัฒนากลยุทธ์และช่องทางการตลาตผลิตภัณฑ์ผ้าทอ โบราณเมืองน่านสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของวิสาหกิจชุมชนผ้าทอ จังหวัดน่าน" มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาอัตลักษณ์ วตลายและเรื่องราวผ้าทอโบราณเมืองน่น ๒)เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค และการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอโบราณเมืองน่าน ๓)เพื่อพัฒนากลยุทธ์และช่องทางการตลาต ผลิตภัณฑ์ผ้าทอโบราณเมืองน่านสู่เศรษฐกิจแบบสร้างสรรค์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบ ผสมผสาน (Mixed method research) ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและ ะห์ข้อมูลในเชิง เอกสาร เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และเชิงปฏิบัติการ แล้วนำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่ การพัฒนากลยุทธ์และช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอโบราณเมืองน่านสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ดังนี้ ๑) อัตลักษณ์ ลวตลายและเรื่องราวผ้าทอโบราณเมืองน่าน พบว่า ผ้าทอโบราณเมืองน่าน มีหลากหลายรูปแบบ ผสมผสานภายใต้วัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ฉพาะตน ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ เครื่องแต่งกายของชาวเมืองน่านขึ้นมาอย่างประณีตสวยงาม ซึ่งแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ไต้แก่ ๑) ผ้า ทอที่ใช้เป็นเครื่องแต่งกาย ไต้แก่ ผ้าซิ่น เป็นต้น ๒) ผ้าทอที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ผ้าปูที่นอน และถุงย่าม เป็นตัน ๓ ผ้าทอที่ใช้ในพิธีกรรมทางพุทธศาสนา ได้แก่ ตุง ผ้าห่อคัมภีร์ เป็นตัน โตยใช้ วัสตุในการทอ ไต้แก่ เส้นฝ้าย และเส้นไหม ผ่านกรรมวิธีการทอจากเครื่องมือที่ทำมาจากไม้ เรียกว่า กี่ทอผ้า ด้วยเทคนิคการถักทอ การขัดสานของเส้นใยและธรรมชาติ ซึ่งที่ละท้องถิ่นจะมีจุดเต่นเรื่อง ลวตลายที่แตกต่างกันไป ๒) พฤติกรรมผู้บริโภคและการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอโบราณเมืองน่าน พบว่า กลุ่ม ผู้บริโภค/หรือกลุ่มลูกค้า ได้แก่ กลุ่มนักท่องเที่ยว ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุระหว่าง ๒๐ - ๓๐ ปี และ ๔๓ - ๕- ปี นิยมเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องแต่งกาย (ผ้าซิ่น/ผ้านุ่ง/เสื้อพื้นเมือง) ๓) การพัฒนากลยุทธ์และช่องทางการตลาตผลิตภัณฑ์ผ้าทอโบราณเมืองน่านสู่ เศรษฐกิจแบบสร้างสรรค์ พบว่า กลยุทธ์ในการพัฒนาผ้าทอโบราณเมืองน่าน ควรสร้างความแตกต่าง ของผลิตภัณฑ์ พัฒนาลวดลายเพื่อตอบสนองกลุ่มลูกค้าที่หลากหลายมากขึ้น เช่น ผ้าทอสีย้อม ธรรมชาติ ๑๐๐% ผ้าทอลวดลายแฟชั่นสมัยใหม่ เป็นต้น ต่อยอ ตด้วยการสร้างเรื่องราวที่มีประวัติ ความเป็นมา (story) ที่น่าสนจ และประชาสัมพันธ์สินค้าตัวยบุคคลที่มีชื่อเสียง พัฒนากลยุทธ์การ สร้างเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา และกลุ่มทอผ้าอื่น ๆ เพื่อเชื่อมโยงการผลิตและ การจำหน่ายให้เพิ่มขึ้น พัฒนาการเรียนรู้กระบวนการทอผ้าตัวยนวัตกรรมสมัยใหม่ พัฒนาคุณภาพ ของเนื้อผ้าให้เหมาะกับการใช้งานที่หลากหลาย ต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร การส่งเสริม บุคลากรไต้อบรมเพิ่มพูนความรู้ต้านกรรมวิธีการทอผ้าอย่างสม่ำเสมอ เพื่อการเรียนรู้รูปแบบของ ลวตลายที่ได้รับความนิยม นอกจากนี้ควรเสริมสร้างกลยุทธ์การพัฒนาการตลาตออนไลน์ เพื่อเพิ่ม โอกาสในการสร้างรายไต้และเพิ่มยอดขายให้แก่ผ้าทอมากยิ่งขึ้น การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี สารสนเทศ เช่น การขายสินค้า/ผลิตภัณฑ์/บริการผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ (Facebook, Line, Instagram, Twitter, tiktok, การ Live) เป็นต้น ๕.ฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ในการพัฒนาช่องทางการตลาตออนไลน์ ไต้แก่ Facebook Fanpage, tiktok, Instagram, การ Live, และการขายผ่านช่องทาง Youtube ซึ่งเป็น ช่องทางการขายที่ไม่ต้องใช้ทุนมาก และสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายต้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ๖. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาการพัฒนานวัตกรรมการผสิตและ ยกระตับช่องทางการตลาตดิจิทัสผลิตภัณฑ์ผ้าทอโบราณเมืองน่านสู่ตลาดสากลต่อไป | en_US |
dc.publisher | สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ | en_US |
dc.subject | กลยุทธ์ | en_US |
dc.subject | ช่องทางการตลาด | en_US |
dc.subject | ผ้าทอโบราณเมืองน่าน | en_US |
dc.subject | เศรษฐกิจสร้างสรรค์ | en_US |
dc.title | การพัฒนากลยุทธ์และช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอโบราณเมืองน่านสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของวิสาหกิจชุมชนผ้าทอจังหวัดน่าน | en_US |
dc.type | Other | en_US |
Appears in Collections: | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์-ทุนภายนอก |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การพัฒนากลยุทธ์และช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอโบราณเมืองน่าน.pdf | 2.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.